กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4688
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปุณณิฐฐา มาเชค | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T01:17:30Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T01:17:30Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.issn | 1906-9308 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4688 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา (2) เพื่อตรวจสอบโมเดลเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2545-2564 จำนวน 100 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยตัวแปรแฝง จำนวน 5 ตัวแปร ได้แก่ คุณลักษณะของนิสิต บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ แหล่งอำนวยความสะดวกและศึกษาค้นคว้า การบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน และประสิทธิผลการสำเร็จการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือแบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยง 0.883 ถึง 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ข้อมูลโมเดลด้วยโปรแกรม Amos ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ (1) โมเดลเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตัวแปรที่มีขนาดอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ คุณลักษณะของนิสิต และบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ ส่วนแหล่งอำนวยความสะดวกและศึกษาค้นคว้า และการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (2) การวิเคราะห์ความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า โมเดลเชิงสาเหตุและผลของการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับปริญญาเอก สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากับ 122.153 องศาอิสระ เท่ากับ 101 ที่ระดับความน่าจะเป็น (p) เท่ากับ 0.075 ค่า CFI = 0.978 ค่า TLI = 0.971 และค่า RMR = 0.026 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | นักศึกษาปริญญาเอก | th_TH |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ระบบการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การสำเร็จการศึกษา | th_TH |
dc.title | โมเดลเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Causal model affecting the graduation of doctoral educational administration graduates Faculty of Education Burapha University | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 13 | th_TH |
dc.year | 2022 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The aims of this research were: to develop a causal model affecting the graduation of Doctoral Educational Administration graduates of the Faculty of Education at Burapha University, and to test the model that corresponds the causal model and results for affecting the graduation of Doctoral Educational Administration graduates of the Faculty of Education at Burapha University with empirical data. The sample group, which was used in this study, was Ph.D. graduates from the Department of Educational Administration of the Faculty of Education at Burapha University from the academic years 2002-2021, and consisted of 100 people by simple random sampling. The variables used in this research consisted of 5 latent variables: student characteristics, the role of the thesis advisor, facilities and research, course management, teaching and learning management, and graduation effectiveness. The instrument used in this research was a questionnaire with a precision of 0.883 to 0.968. Data were analyzed using basic statistical analysis, Pearson's correlation coefficient analysis, and the results of the model data analysis by Amos program. The results of the research were shown as follows: (1) A causal model affecting the graduation of doctoral students of the Department of Educational Administration of the Faculty of Education at Burapha University. The variables had a statistically significant influence size at the .05 level including the characteristics of students and the role of the thesis advisor. As for the facilities and research resources, curriculum management, and teaching and learning management were not statistically significant. (2) The correspondence analysis of the causal model affecting the graduation of doctoral students of the Department of Educational Administration at Burapha University found that the causal model affected the graduation of doctoral students. The model was consistent with the empirical data with a chi-square (χ2) of 122.153 degrees of freedom 101 at a probability level (P) of 0.075, CFI = 0.978, TLI = 0.971, and RMR = 0.026. | th_TH |
dc.journal | HRD journal | th_TH |
dc.page | 8-28. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
hrd13n1p8-28.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น