กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4677
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เกรียงไกร ทรัพย์แสนมา | - |
dc.contributor.author | บรรพต วิรุณราช | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T08:13:44Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T08:13:44Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.issn | 1685-2354 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4677 | - |
dc.description.abstract | ในการศึกษาเรื่อง ปัจจัยแห่งความสำเร็จของบริษัทประชารัฐสามัคคีวิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จำกัด ในประเด็นเศรษฐกิจฐานราก ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสาเหตุที่ทำให้ประสบความสำเร็จในการบริหารงานชองบริษัทประชารัฐสามัคคีวิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จำกัด ผู้วิจัยได้ใช้การศึกษาวิจัยแบบผสมผสานวิธีสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยสอบถามความคิดเห็นจากกรรมการหรือตัวแทนบริษัทประชารัฐจำนวน 15 ท่าน นอกจากนั้น ผู้วิจัยยังใช้เทคนิคสนทนากลุ่มในการยืนยันรูปแบบปัจจัยแห่งความสำเร็จของประชารัฐรักสามัคคีวิสาหกิจเพื่อสังคม ส่วนสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ข้าราชการจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มที่สองเจ้าหน้าที่บริษัทประชารัฐรักสามัคคีวิสาหกิจเพื่อสังคม และกลุ่มสุดท้ายประชาชนหรือเกษตรกรที่เข้าร่วมกับบริษัทประชารัฐรักสามัคคีวิสาหกิจเพื่อสังคม นอกจากนั้นผู้วิจัยยังได้ทำการวิเคราะห์เชิงประเมินผลการดำเนินงานโดยใช้ตัวชี้วัดของบริษัทประชารัฐที่ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ 1) รายได้ของกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มขึ้น 2) จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์ ซึ่งเป็นผลการดำเนินงานของบริษัทประชารัฐที่จดทะเบียนในระยะที่ 1 ประกอบด้วยเชียงใหม่ อุดรธานี บุรีรัมย์ เพชรบุรีและภูเก็ต ผลจากการวิจัยพบว่าปัจจัยที่สำคัญอันดับ 1 คือการบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคลกร ต่อมาอันดับ 2 คือ การสนับสนุนจากหัวหน้าชุมชน ปัจจัยที่สำคัญอันดับที่ 3 คือการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและปัจจัยสำคัญอันดับสุดท้ายการคือการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาต | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์การ | th_TH |
dc.subject | ประสิทธิผลองค์การ | th_TH |
dc.subject | ผู้ประกอบการเพื่อสังคม | th_TH |
dc.title | ปัจจัยแห่งความสำเร็จของบริษัทประชารัฐรักสามัคคีวิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จำกัด ในประเด็นเศรษฐกิจฐานราก | th_TH |
dc.title.alternative | Factors of success of Pracharath Raksamakee Social Enterprise (Thailand) Co., Ltd. In part of foundation economy | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 14 | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | In the study of factors of success of PRACHARATH RAKSAMAKEE SOCIAL ENTERPRISE (THAILAND) Co., Ltd in part of foundation economy, the objective is to study the reasons for the successful management of the company. The researcher used the survey from three sample groups of five provinces in Thailand that were established as companies in the early stages.Provinces in Thailand established as a company in the early stages are Chiang Mai, Udon Thani, Buriram, Phetchaburi and Phuket. The researcher collected data from three sample groups of 450 samples. Three sample groups were the farmers who joined the company, the civil servants related to the company and the company officials. The researcher used the in-depth interviews to find relevant factors. Then use statistical analysis is multiple linear regression analysis method. The research found that the most important factor is human resource management. The second most important factor is Support from local leaders; the third most important factor is the participation of people in the community and the last most important factor is the environmental management | th_TH |
dc.journal | วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review | th_TH |
dc.page | 17-29. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
mba14n2p17-29.pdf | 541.88 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น