กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4661
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภาวินี จิตต์โสภา | - |
dc.contributor.author | ศิรประภา พฤทธิกุล | - |
dc.contributor.author | เชวง ซ้อนบุญ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T08:46:57Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T08:46:57Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.issn | 0125-3212 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4661 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กอนุบาล อายุ 5-6 ปี โรงเรียนวัฒนานุศาสน์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา และแบบประเมินทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า (1) เด็กอนุบาลมีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมก่อนการทดลองอยู่ในระดับควรส่งเสริม หลังการทดลองอยู่ในระดับดี และ (2) เด็กอนุบาลมีทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสามารถนำไปใช้ในการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลได้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ทักษะทางการคิด | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นอนุบาล | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | วิศวกรรมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของเด็กอนุบาลโดยใช้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of enhancing innovative thinking skills of kindergarteners through learning experience management based on stem educational concepts | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 33 | th_TH |
dc.year | 2565 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi-experimental research were to study and compare innovative thinking skills among kindergarteners before and after learning experience management based on STEM educational concepts. Research sample consisted of 35 kindergarteners aged 5 to 6 years at Wattananusas School, under the Office of the Private Education Commission, semester 2, academic year 2020. Research instruments were lesson plan of learning experience management based on STEM educational concepts; and assessment scale of kindergarteners’ innovative thinking skills. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, and independent t-test. Major findings were as follows: (1) The kindergarteners’ innovative thinking skills before the experiment was at the “Needs Improvement” level, and after the experiment at the “Good” level; (2) The kindergarteners’ innovative thinking skills after the experiment was significantly higher than those before, at the .05 level. This research results showed that a learning experience management based on STEM educational concepts can be used to enhance kindergarteners’ innovative thinking skills. | th_TH |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University | th_TH |
dc.page | 86-102. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
edu33n1p86-102.pdf | 437.19 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น