กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4649
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฐิติชัย รักบำรุง | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-09T03:08:50Z | - |
dc.date.available | 2022-08-09T03:08:50Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.issn | 1906-9308 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4649 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ร่วมกับการใช้สถานการณ์จริงเพื่อส่งเสริมการทำงานเป็นทีมสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบก่อนกับหลังการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้วยรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ 3) เพื่อศึกษาทักษะการทำงานเป็นทีมของรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ 5) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิต ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่สนใจสมัครเข้าโครงการพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ โดยวิธีการแบบอาสาสมัคร (Voluntary Selection) จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) รูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ 2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังการฝึกอบรมออนไลน์ฯ 3) แบบวัดทักษะการทำงานเป็นทีม 4) แบบศึกษาความพึงพอใจ และ5) แบบประเมินรับรองรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบประสิทธิภาพ (E1/E2) และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ มี 5 องค์ประกอบ และ 3 ขั้นตอน ดังนี้ องค์ประกอบ 1) วิเคราะห์การฝึกอบรม 2) กำหนดวัตถุประสงค์ 3) พัฒนาหลักสูตร 4) ขั้นตอนการฝึกอบรม 5) ประเมินและปรับปรุง และขั้นตอน 1) ขั้นก่อนการฝึกอบรม 1.1) เตรียมความพร้อมการฝึกอบรมออนไลน์ 1.2) มอบหมายภารกิจ 1.3) สร้างทีมและกำหนดบทบาท 2) ขั้นฝึกอบรมและเผชิญสถานการณ์จริง 2.1) ฝึกอบรมออนไลน์และศึกษาบทเรียนออนไลน์ 2.2) เพิ่มเติมความรู้ 2.3) การติดต่อสื่อสาร 2.4) เผชิญสถานการณ์จริง 2.5) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3) ขั้นประเมินผลการฝึกอบรม 3.1) นำเสนอผลงาน 3.2) ทดสอบหลังการฝึกอบรม 3.3) ทักษะการทำงานเป็นทีม โดยบทเรียนจากรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ ได้ผลการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 = 87.25/85.48 2. การทดสอบก่อนกับหลังการฝึกอบรมด้วยรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ สูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ทักษะการทำงานเป็นทีมของรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ มีคะแนนเฉลี่ยระดับ “มากที่สุด” 4. ความพึงพอใจต่อรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจระดับ “มากที่สุด” 5. การประเมินรับรองรูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ คะแนนเฉลี่ยระดับ “มากที่สุด” | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การฝึกอบรม | th_TH |
dc.subject | การทำงานเป็นทีม | th_TH |
dc.subject | นักศึกษา -- การฝึกอบรม | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมออนไลน์ร่วมกับการใช้สถานการณ์จริงเพื่อส่งเสริมการทำงานเป็นทีมสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | The development of online training with real situations to encourage team working for undergraduate students in educational technology major | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 13 | th_TH |
dc.year | 2022 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to develop an online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students in educational technology major 2) to compare the scores of the pre and post training test of the trainees by the online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students 3) to study the teamwork skills of the online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students 4) to study the satisfaction of the online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students 5) to assess and certify an online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students by qualified. The sample group used in the research were undergraduate students in educational technology major, faculty of education, Burapha university who are interested in applying for the online training model development project by a volunteer method (Voluntary Selection) of 30 people. The research instruments were 1) online training form 2) pre and post online training test 3) teamwork skill test 4) satisfaction study form and 5) assessment certifies form of online training formats. Data analysis consisted of percentage, mean, standard deviation, efficiency test (E1/ E2) and t-test The results showed that 1) An online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students in educational technology major has 5 components and 3 steps as follows: components 1) Training analysis 2) Determining objectives 3) Curriculum development 4) Training procedures 5) Evaluate and improve; steps were: 1) pre-training stage 1.1) online training preparation 1.2) assignments 1.3) team building and role assignments 2) training and real situations 2.1) online training and online lessons 2.2 ) Knowledge addition 2.3) Communication 2.4) Face to face with real situations 2.5) Exchange of knowledge 3) Training evaluation stage 3.1) Presentation of results 3.2) Post-training test 3.3) Teamwork skills got the efficiency test according to E1/E2 = 87.25/85.48 2) Pre and post training tests of an online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students in educational technology major statistically significantly higher than before training at the .01 level. 3) Teamwork skills of the online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students in educational technology major, the average score was on the “highest” level. 4) Satisfaction with the online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students in educational technology major, the average satisfaction rating was at the “highest” level. 5) Assessment certifies the online training model with real situations to encourage teamwork for undergraduate students in educational technology major by qualified the average score was at the “highest” level. | th_TH |
dc.journal | HRD journal | th_TH |
dc.page | 94-114. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
hrd13n1p94-114.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น