กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4621
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฐวิศิษฏ์ ยะสารวรรณ
dc.date.accessioned2022-08-07T03:46:21Z
dc.date.available2022-08-07T03:46:21Z
dc.date.issued2565
dc.identifier.issn2351-0781
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4621
dc.description.abstractทำการทดลองแบบกะเพื่อศึกษาการดูดซับคริสตัลไวโอเลตบนตัวดูดซับที่ได้จากเปลือกถั่วลิสงที่ปรับสภาพด้วยกรด (APS) และเปลือกถั่วลิสงที่ไม่ปรับสภาพ (UPS) ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของสีย้อมในช่วง 10.7 – 15.4 µM อุณหภูมิในช่วง 27-47 ˚C และปริมาณของตัวดูดซับต่อปริมาตรของสารละลายเท่ากับ 1.2 g L-1 ภายใต้สภาวะของการทดลองเหล่านี้ พบว่ากระบวนการดูดซับเข้าสู่สมดุลได้ภายในระยะเวลา 35 นาทีของการสัมผัส การปรับสภาพด้วยกรดช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดสีย้อมของตัวดูดซับได้อย่างมีนัย โดย UPS และ APS มีค่าร้อยละของการกำจัดสีย้อมสูงสุดเท่ากับ 96.37% และ 99.96% ตามลำดับ ข้อมูลทางจลนศาสตร์ของการดูดซับสอดคล้องกับสมการอันดับสองเสมือน โดยพลังงานกระตุ้นของการดูดซับบน UPS และ APS มีค่าเท่ากับ 21.04 และ 25.35 kJ mol-1 ตามลำดับ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณดูดซับกับความเข้มข้นของสีย้อมที่สมดุลเป็นไปตามไอโซเทอร์มของแลงเมียร์สำหรับการดูดซับแบบชั้นเดียว จากการวิเคราะห์ทางอุณหพลศาสตร์ตามสมการของแวนท์ฮอฟฟ์พบว่า การดูดซับบน UPS และ APS มีค่าเอนทาลปีเท่ากับ 14.8 kJ mol-1 (ดูดความร้อน) และ -22.4 kJ mol-1 (คายความร้อน) ตามลำดับ พลังงานกิบส์ของการดูดซับมีค่าเป็นลบดังนั้นการดูดซับสามารถเกิดขึ้นได้เองเมื่อสารละลายสีย้อมสัมผัสกับตัวดูดซับth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคริสตัลไวโอเลตth_TH
dc.subjectการดูดซับth_TH
dc.subjectสีย้อมและการย้อมสีth_TH
dc.subjectถั่วลิสง -- วัสดุเหลือใช้th_TH
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดสีth_TH
dc.titleการกำจัดสีย้อมคริสตัลไวโอเลตในสารละลายน้ำโดยการดูดซับบนตัวดูดซับที่ได้จากเปลือกถั่วลิสงth_TH
dc.title.alternativeRemoval of Crystal Violet Dye in aqueous solution by adsorption onto adsorbents derived from peanut shellsth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume27th_TH
dc.year2565th_TH
dc.description.abstractalternativeBatch experiments were carried out to study the adsorption of crystal violet onto the adsorbents derived from acid-treated peanut shells (APS) and untreated peanut shells (UPS), at the initial dye concentrations of 10.7 – 15.4 µM and the temperatures of 27 – 47 oC, with the adsorbent dosage being kept at 1.2 g L-1. Under all conditions attempted, the adsorption equilibrium was achieved within 35 minutes of the contact time. Acid treatment significantly promoted the dye removal efficiency of the adsorbent. The maximum dye removal percentages were 96.37% and 99.96% for UPS and APS, respectively. All kinetic data for the adsorption fit well to the pseudo-second-order equation. The activation energies for the adsorption onto UPS and APS were 21.04 and 25.35 kJ mol-1, respectively. The relationship between the adsorption quantity and the dye concentration at equilibrium followed the Langmuir isotherm for the monolayer adsorption. According to the thermodynamic analysis based on the van 't Hoff equation, the enthalpies of adsorption onto UPS and APS were 14.8 kJ mol-1 (endothermic type) and −22.4 kJ mol-1 (exothermic type), respectively. As the Gibbs energies of adsorption were all negative, the adsorption process could spontaneously take place when the dye solution was in contact with the adsorbent.th_TH
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journalth_TH
dc.page394-413.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
sci27n1p394-413.pdf913.96 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น