กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4619
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิตติมา ปฏิมาประกร | - |
dc.contributor.author | บรรพต วิรุณราช | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-07T03:34:19Z | - |
dc.date.available | 2022-08-07T03:34:19Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.issn | 1906-506X | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4619 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องแนวทางการสร้าง ให้เกิดนวัตกรรมในองค์กรของอุตสาหกรรมยานยนต์ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างให้เกิดนวัตกรรม ในกลุ่มพนักงานฝ่ายปฏิบัติกลุ่มทักษะฝีมือ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 220 บริษัท สถิติที่ใช้ในการวิจัยเป็นการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (SEM) มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรม M Plus V.8 ผลการวิจัยปรากฎว่า แนวทางการสร้างให้เกิดนวัตกรรมในองค์กร ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ การสร้างพฤติกรรมในระดับกลุ่มงาน และในระดับบุคคล (β =.591) อันดับที่ 2 คือ เป้าหมายที่ชัดเจน (β = .552) และอันดับที่ 3 คือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม (β = .547) | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์ | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาองค์การ | th_TH |
dc.subject | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | th_TH |
dc.title | แนวทางการสร้างให้เกิดนวัตกรรมในองค์กรของอุตสาหกรรมยานยนต์ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) | th_TH |
dc.title.alternative | The guidelines for creating innovation in organizations in automotive industry in Eastern Economic Corridor (EEC) | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 13 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Research on the guidelines for creating innovation in organizations in automotive industry in Eastern Economic Corridor (EEC) had objectives to study the ways of creating innovation among the operational staff, skill groups In the automotive industry The study was a quantitative research with 220 companies. The statistics used in the research was analysis of the structural equation model (SEM) with statistical significance at the level of .05 using Mplus V.8 program. The results showed that the first guideline for creating innovation in the organization was the behavioral behavior of staff at work level and at the individual level (β = .591), and the 2nd guideline was the clear target (β = .552). The 3rd was the creation of added value (β = .547). | th_TH |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย | th_TH |
dc.page | 269-286. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
politic13n2p269-286.pdf | 822.24 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น