กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4606
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เจน สุขศรีทอง | |
dc.contributor.author | วิเชียร ตันศิริคงคล | |
dc.contributor.author | สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ | |
dc.contributor.author | พร ภิเศก | |
dc.date.accessioned | 2022-08-02T02:56:52Z | |
dc.date.available | 2022-08-02T02:56:52Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.issn | 1906-506X | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4606 | |
dc.description.abstract | บทความนี้เป็นบทความจากการวิจัยเชิงเอกสาร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเชิงคุณภาพในหัวข้อการกำหนดและการนำไปสู่การปฏิบัติของนโยบายสังคมพหุวัฒ นธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งมีวัตถุประสงคใ์นการวิจัยที่เกี่ยวข้องคือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการกำหนดนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 2) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำไปสู่การปฏิบัติของนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้บทความได้นำ เสนอถึงนิยามของคำว่า สังคมพหุวัฒนธรรมอันมีความหลากหลาย ซึ่งความหมายโดยรวมนั้นหมายถึงสังคมที่อยู่ร่วมกันภายใต้วัฒนธรรมอันมีความหลากหลายแตกต่างกันลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรมนั้น มีทั้งในแบบที่เป็นพหุวัฒนธรรมนิยมแบบอนุรักษ์นิยม (Conservative Multiculturalism) พหุวัฒนธรรมนิยมแบบเสรีนิยม (Liberal Multiculturalism) พหุวัฒนธรรมเชิงวิพากษ์ (Critical Multiculturalism) โดยมีตัวแบบการใช้สังคมพหุวัฒนธรรมในลักษณะต่าง ๆ หลากหลายประเทศ เช่น ประเทศออสเตรเลีย ประเทศมาเลเซีย และแม้แต่องค์กรนานาชาติอย่างประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ในการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้รัฐบาลไทยก็ได้ทำการกำหนดนโยบายสังคมพหุวัฒนธรรมรวมถึงการนำไปสู่การปฏิบัติด้วยเช่นกัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | พหุนิยมทางวัฒนธรรม | th_TH |
dc.subject | ความขัดแย้งทางสังคม -- ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.subject | การบริหารความขัดแย้ง | th_TH |
dc.title | การศึกษาสังคมพหุวัฒนธรรมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ | th_TH |
dc.title.alternative | Multicultural society study for implementation in southern border provinces | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 3 | th_TH |
dc.volume | 13 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This article is a documentary research article which is a part of qualitative research in the topic of Multicultural Society Policy Formulation and Implementation in Southern Border Provinces of Thailand. The research objectives are 1 ) study of multicultural society policy formulation in Southern Border Provinces of Thailand and 2 ) study of multicultural society policy implementation in Southern Border Provinces of Thailand. This article also presents the meaning of multicultural society which is the society consist of culture variety. The multicultural society character and type are the Conservative Multiculturalism, the Liberal Multiculturalism and the Critical Multiculturalism. Multicultural Society model from various countries such as Australia, Malaysia and international organization such as ASEAN. Finally, Thailand has formulated and Implemented the Multiculturalism Society to solve the insurgency problem in Southern Border Provinces of Thailand. | th_TH |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law | th_TH |
dc.page | 19-35. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
politic13n3p19-35.pdf | 497.11 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น