กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4605
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorPranitda Peng-ngeiw-
dc.contributor.authorSomtawin Jaritkhuan-
dc.contributor.authorSuriyan Tunkijjanukij-
dc.date.accessioned2022-08-02T02:46:35Z-
dc.date.available2022-08-02T02:46:35Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.issn2351-0781-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4605-
dc.description.abstractทำการศึกษาสารอินทรีย์ทั้งหมดในดินตะกอน และฟลักซ์ของอนินทรีย์ไนโตรเจนละลายน้ำระหว่างน้ำ และดินตะกอนในอ่าวศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในเดือนสิงหาคม 2557 ธันวาคม 2557 และเมษายน 2558 โดยเก็บตัวอย่างน้ำและดินตะกอนจาก 3 สถานี 1) พื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือก 2) พื้นที่ที่มีการ เลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือก 1-2 ปี และ 3) พื้นที่ที่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่มากกว่า 10 ปี พบว่าสารอินทรีย์ทั้งหมดมีค่าสูงสุดในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือกมากกว่า 10 ปี (5.71±2.44 %) การเลี้ยง หอยแมลงภู่แบบแพเชือกที่ยาวนานเป็นสาเหตุสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงของลักษณะดินตะกอน และพบว่าฟลักซ์ของอนินทรีย์ไนโตรเจนละลายน้ำในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือกที่ ยาวนานมากกว่า 10 ปี มีค่าสูงกว่าในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือก 1-2 ปี และในพื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือก โดยฟลักซ์ของไนไตรท์ ไนเตรท และแอมโมเนียระหว่างน้ำและดินตะกอนใน พื้นที่ที่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือกมากกว่า 10 ปี มีค่าเท่ากับ 7.97, 32.60 และ 39.92 μmol.m-2.h-1 ตามลำดับ ซึ่งฟลักซ์ของอนินทรีย์ไนโตรเจนละลายน้ำมีการเคลื่อนย้ายจากดินตะกอนสู่มวลน้ำ ชี้ให้เห็นว่าดินตะกอนในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นแหล่งปลดปล่อยอนินทรีย์ไนโตรเจนละลายน้ำth_TH
dc.language.isoen_USth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectGreen mussel raft cultureth_TH
dc.subjectMusselsth_TH
dc.subjectTotal organic matterth_TH
dc.subjectDissolved Inorganic Nitrogenth_TH
dc.titleEffect of green mussel raft culture to Total Organic Matter (TOM) and Flux of Dissolved Inorganic Nitrogen (DIN) in Sriracha Bay, Chon Buri Provinceth_TH
dc.title.alternativeผลกระทบของการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือกต่อปริมาณสารอินทรีย์ทั้งหมด และฟลักซ์ของอนินทรีย์ ไนโตรเจนละลายน้ำในอ่าวศรีราชา จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume26th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeTotal organic matter (TOM) in sediment and flux of dissolved inorganic nitrogen (DIN) at the water-sediment interface in Sriracha Bay, Chon Buri Province, were investigated in August 2014, December 2014 and April 2015. Samples of water and sediment were taken from three stations: The first station was identified as an area where there was no green mussel raft culture activity, the second station was in an area where green mussel raft culture activities were just performed for 1-2 years. The third station was identified as an area where green mussel raft culture has been performed for over 10 years. Total organic matter (TOM) showed high values in the area which has been used for mussel culture for more than 10 years (5.71±2.44 %). The prolonged green mussel raft culture has a major effect on the sediment texture as well as on the components of the sediment. The values of DIN fluxes were higher in the area of the prolonged culture for over 10 years than the one of 1-2 years. The lowest DIN fluxes were found in the area with no mussel raft culture activity. Flux of nitrite, nitrate and ammonia in the area where green mussel raft culture has been performed for over 10 years were 7.97, 32.60 and 39.92 μmol.m-2.h-1, respectively. Flux of DIN at the water-sediment interface moving from the sediment to the water, indicated that the sediment in the green mussel culture area acted as a source of DIN.th_TH
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journalth_TH
dc.page270-284.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
sci26n1p270-284.pdf1.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น