กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4560
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorมาริสา หอมดวง-
dc.contributor.authorสมศิริ สิงห์ลพ-
dc.contributor.authorเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์-
dc.date.accessioned2022-07-23T11:36:46Z-
dc.date.available2022-07-23T11:36:46Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.issn0125-3212-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4560-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาชีววิทยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม งานวิจัยนี้ใช้รูปแบบของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) ประกอบด้วย 4 ขั้น ได้แก่ ขั้นวางแผน (Plan) ขั้นปฏิบัติ (Act) ขั้นสังเกต (Observe) และขั้นสะท้อนผล (Reflect) โดยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี จำนวน 31 คน ซึ่งเป็นนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ห้องเรียนปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก จำนวน 5 แผน แบบทดสอบวัดการคิดแก้ปัญหา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบย่อยท้ายวงจร สถิติที่ใช้ในการวัดข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ในการทดสอบสมมติฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย ซึ่งผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการคิดแก้ปัญหาหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 79.81 มีคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 34.30 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 47.96 และมีคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 16.20th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectเทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)th_TH
dc.subjectวิศวกรรมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการแก้ปัญหาth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th_TH
dc.title.alternativeEffects of stem education on problem solving and learning achievements of 11th grade studentsth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume32th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study problem solving thinking and learning achievement of eleventh-grade students using STEM education. The research design was an action research which composed of 4 steps; Plan, Act, Observe and Reflect. The sample group of this research was 31 eleventh grade students who studied in a regular scientific course at Piboonbumpen Demonstration School, Burapha University, Chonburi Province in the first semester of 2019 academic year. The instruments of the research were; 5 lesson plans using STEM education on the topic of nervous system and sense organs, problem solving test, learning achievement test and ended cycle test. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, comparing the pretest and posttest scores using relative gain score and content analysis. The results of this study indicated that the problem solving thinking percentage after using STEM education was 79.81 and relative gain score was 34.30%, the learning achievement percentage of nervous system and sense organs topic after using STEM education was 47.96 and relative gain score was 16.20%.th_TH
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha Universityth_TH
dc.page61-76.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edu32n1p61-76.pdf194.04 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น