กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4552
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร | - |
dc.contributor.author | คุณาวุฒิ วรรณจักร | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T10:11:27Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T10:11:27Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4552 | - |
dc.description.abstract | บทนำ Text neck syndrome คือ อาการปวดต้นคอที่สัมพันธ์กับท่าทางการใช้สมาร์ทโฟน วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนชีวกลศาสตร์ของท่าทางขณะใช้งานสมาร์ทโฟนและวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อบรรเทาอาการปวดต้นคอที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้งานสมาร์ทโฟน วิธีการศึกษา ทบทวนและวิเคราะห์บทความที่เกี่ยวข้องกับชีวกลศาสตร์ของท่าทางขณะใช้งานสมาร์ทโฟน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดคอและท่าทางการใช้งานสามาร์ทโฟนเพื่อนำไปสู่ท่าทางการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ สรุป เนื่องจากการใช้สมาร์ทโฟนมักจะอยู่ในท่าที่ต้องก้มคอและหลังส่วนบนมากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งการที่ต้องอยู่ในท่าทางที่ผิดปกติแบบนี้เป็นเวลานานๆ นั้น จะส่งผลต่อการทำงานของกล้ามเนื้อคอและบ่าเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ระยะเวลาในการใช้สมาร์ทโฟนในแต่ละครั้งที่นานและใช้ติดต่อกันหลายครั้งในแต่ละวันก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้กล้ามเนื้อต้องทำงานหนักและนำมาสู่อาการปวดต้นคอ การยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณคอและบ่าจึงควรนำมาปฏิบัติเมื่อต้องใช้สมาร์ทโฟนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการเกิดอาการปวดต้นคอ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ปวดคอ | th_TH |
dc.subject | ชีวกลศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | อาการ (โรค) | th_TH |
dc.subject | สมาร์ทโฟน | th_TH |
dc.title | อาการปวดต้นคอจากการใช้สมาร์ทโฟน | th_TH |
dc.title.alternative | Text neck syndrome | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 8 | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Introduction: Text neck syndrome is a pain in the neck associated with the use of a smartphone. Objective: To review the “biomechanics” of posture during smartphone use, as well as stretching exercises to reduce neck pain in smartphone users. Method: To review and analyze the articles related to the biomechanics of posture during smartphone use. Additionally, to analyze the relationship between neck pain and poor posture that leads to recommended stretching exercises. Conclusion: The posture during smartphone use can cause more neck and upper back flexion than during desktop use. While using a smartphone, the neck and upper back are more likely to be bent than when using a computer. Being in such a static and awkward posture for a long period of time tremendously increases the workload of the neck muscles, finally resulting in neck pain. Therefore, the neck and shoulder muscles need to be frequently stretched in order to prevent the occurrence of neck pain. | th_TH |
dc.journal | บูรพาเวชสาร | th_TH |
dc.page | 112-118. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
med8n1p112-118.pdf | 136.93 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น