กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4550
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวราวุฒิ เกรียงบูรพา-
dc.contributor.authorรมร แย้มประทุม-
dc.contributor.authorนลินี ภัทรากรกุล-
dc.date.accessioned2022-07-23T09:47:53Z-
dc.date.available2022-07-23T09:47:53Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4550-
dc.description.abstractบริบท การระบาดของโรคโคโรนาไวรัส 2019 (โควิด-19) ได้ก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพกับผู้คนทั่วโลก โดยเฉพาะบุคลากรทางการแพทย์มีความเสี่ยงในการติดเชื้อและเกิดปัญหาสุขภาพจิตได้มากขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะทางจิตใจกับกลยุทธ์ในการเผชิญปัญหาและความรู้ของบุคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันในช่วงการระบาดของเชื้อ โควิด-19 วิธีการศึกษา ทำการศึกษาเชิงวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยใช้แบบสอบถามในระหว่างวันที่ 31 เดือนสิงหาคม ถึงวันที่ 2 เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 แบบสอบถามที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้ ข้อมูลทั่วไป General Health Questionnaire-28 ฉบับภาษาไทย (Thai GHQ-28) กลยุทธ์ในการเผชิญปัญหาและความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 แจกแบบสอบถามให้บุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 100 ราย โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง Thai GHQ-28 กับกลยุทธ์ในการเผชิญปัญหาและความรู้ของบุคลากรทางการแพทย์ด้วยสถิติ Pearson’s correlation ผลการศึกษา ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาโดยสมบูรณ์ จำนวน 83 ฉบับ(ร้อยละ 83) พบบุคลากรทางการแพทย์มีปัญหาทางสุขภาพจิต (Thai GHQ-28 ≥ 6) มีจำนวน 19 ราย (ร้อยละ 22.9) คะแนนเฉลี่ยของ Thai GHQ-28 กลยุทธ์ในการเผชิญปัญหา และคะแนนความรู้ คือ 2.94±4.2 (คะแนนเต็ม 28), 28.9±5.8 (คะแนนเต็ม 48) และ 14.2±1.3 (คะแนนเต็ม 16) ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ทางสถิติยังไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง Thai GHQ-28 กับความถี่ของกลยุทธ์ที่ใช้ในการเผชิญปัญหาและความรู้ของบุคลากรทางการแพทย์ สรุป บุคลากรทางการแพทย์ประมาณหนึ่งในสี่ประสบปัญหาทางสุขภาพจิตระหว่างการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ดังนั้นจึงควรให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจแก่บุคลากรทางการแพทย์เพื่อช่วยฟื้นฟูสุขภาพจิตให้ดีขึ้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectทางเดินหายใจติดเชื้อในเด็กth_TH
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.titleสภาวะทางจิตใจ กลยุทธ์ในการเผชิญปัญหา และความรู้ของบุคลากรทางการแพทย์ต่อเด็กที่ติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลันในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อโควิด-19th_TH
dc.title.alternativePsychological status, coping strategies and knowledge of medical personnel toward children with an acute respiratory tract Infection during a COVID-19 outbreakth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume8th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeIntroduction: In 2020, the coronavirus disease 2019 (COVID-19) pandemic has negatively impacted people across the world. Medical personnel are a high risk group of people to be psychologically stressed by their workload, risk of infection and fear of spreading the virus amongst their own family. Objective: The aim of this study was to screen for psychiatric illness amongst medical personnel, and find an association between psychological status, coping strategies and knowledge of frontline medical personnel, and their practices when working with children having an acute respiratory infection during the COVID-19 outbreak. Methods: From August 31 to September 2, 2020, a cross-sectional, analytic survey was conducted using a questionnaire. The surveys were distributed to 100 medical personnel in the Burapha University hospital. The questionnaire included the Thai General Health Questionnaire-28 (Thai GHQ-28) as well questions about the respondent’s basic demographic information, coping strategies and general knowledge of COVID-19. The association between the Thai GHQ-28 with the coping strategies and knowledge of these medical personnel, was analyzed by using Pearson’s correlation analysis. Results: Eighty-three questionnaires were returned, representing 83% of the target population. From the Thai GHQ-28, nineteen subjects (22.9%) scored more than or equal to six (meaning they are having psychological distress.) The mean Thai GHQ-28 results, coping strategies and knowledge scores were 2.94±4.2 (total score 28 points), 28.9±5.8 (total score 48 points) and 14.2±1.3 (total score 16 points) respectively. The association between the Thai GHQ-28, coping strategies and proficiency of medical personnel was not statistically significant. Conclusion: With a quarter of medical personnel experiencing psychological distress during the pandemic of COVID-19, psychological support policies for medical personnel should be provided.th_TH
dc.journalบูรพาเวชสารth_TH
dc.page56-67.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
med8n1p56-67.pdf107.55 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น