กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4545
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณรงค์ฤทธิ์ ทองอุ่น-
dc.contributor.authorณศิสรณ์ สุขศรีเดชาศิลป์-
dc.contributor.authorศศธร วงษ์ชื่น-
dc.contributor.authorอาทิตยา ชุบสุวรรณ-
dc.date.accessioned2022-07-21T07:55:01Z-
dc.date.available2022-07-21T07:55:01Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4545-
dc.description.abstractบริบท การใช้ยาโอมิพราโซลติดต่อกันเป็นระยะเวลานานมีผลข้างเคียงทำให้ระดับแมกนีเซียม (Mg2+) ในน้ำเลือดต่ำกว่าระดับปกติ อย่างไรก็ตามกลไกการออกฤทธิ์นั้นยังขัดแย้งกัน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของยาโอมิพราโซล ต่อการธำรงสมดุลแมกนีเซียมในหนูขาวเพศผู้สายพันธุ์ Sprague Dawley วิธีการศึกษา สัตว์ทดลองจะได้รับยาโอมิพราโซล ขนาด 20 mg/kg ต่อวัน ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เป็นเวลา 24 สัปดาห์ศึกษาสมดุล Mg2+ ในสัปดาห์ที่ 0, 4, 8, 12, 16, 20, และ 24 ศึกษาการทำงานของลำไส้และไตในสัตว์ ทดลอง ในขณะที่สัตว์ทดลองใช้ชีวิตปกติโดยการป้อน และการฉีด Mg2+ ศึกษาระดับ Mg2+ ในกระดูกและกล้ามเนื้อศึกษาการสลายกระดูก และศึกษาการแสดงออกของโปรตีนขนส่ง Mg2+ ในท่อไต ผลการศึกษา สัตว์ทดลองที่ได้รับยาโอมิพราโซลเริ่มมีระดับ Mg2+ ในน้ำเลือด และในปัสสาวะต่ำกว่าระดับปกติตั้งแต่สัปดาห์ที่ 8 แต่มีระดับ Mg2+ ในกระดูกและกล้ามเนื้อต่ำกว่ากลุ่มควบคุม ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 4 และเพิ่มการสลายกระดูก ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 4 ของการทดลองไตปรับตัว โดยเพิ่มการดูดกลับ Mg2+ เพื่อลดการสูญเสียทางปัสสาวะ สรุป การศึกษานี้อธิบายกลไกการเกิดภาวะพร่อง Mg2+ จากการใช้ยาโอมิพราโซลth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการใช้ยาth_TH
dc.subjectยา - - ผลข้างเคียงth_TH
dc.subjectโอมิพราโซลth_TH
dc.subjectภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำth_TH
dc.titleผลข้างเคียงของการใช้ยาโอมิพราโซลเป็นระยะเวลานานต่อการธำรงสมดุลแมกนีเซียมในหนูขาวเพศผู้สายพันธุ์ Sprague Dawleyth_TH
dc.title.alternativeAdverse effects of long-term Omeprazole usage on Magnesium homeostasis in male Sprague-Dawley ratsth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume8th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: It is still debatable whether (and by what exact mechanism) prolonged use of omeprazole causes hypomagnesemia. Objectives: To study the effects of omeprazole on magnesium (Mg2+) homeostasis in male Sprague-Dawley rats. Materials and Methods: An experimental group of animals (n=24) were subcutaneously injected with 20 mg/kg/day of omeprazole for 24 weeks. The control group of animals (n=24) received an equivalent volume of distilled water. The animals were subcutaneously injected with 20 mg/kg/day of omeprazole for 24 weeks. Mg2+ homeostasis was assessed throughout the 24 week experiment at 4 week intervals (weeks 0, 4, 8, 12, 16, and 24). Intestinal and renal Mg2+ handling was observed after oral or intravenous Mg2+ administration. Bone and muscle Mg2+ content was measured by atomic absorption spectrophotometer. Renal magnesiotropic protein expression was investigated with Western blot analysis. Results: Omeprazole-treated rats showed hypomagnesemia from week 8 of the experiment. Lower bone and muscle Mg2+content – as well as higher bone resorption – was shown in omeprazole treated rats. Higher renal magnesiotropic protein expression was also demonstrated. Conclusion: Omeprazole suppressed intestinal Mg2+ absorption and induced body Mg2+ depletion, thus explaining the underlying mechanism of omeprazole-induced hypomagnesemia.th_TH
dc.journalบูรพาเวชสารth_TH
dc.page72-85.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
med8n2p72-85.pdf590.43 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น