กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4511
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศักดิ์ดา ทองโสภณ-
dc.date.accessioned2022-07-09T03:34:34Z-
dc.date.available2022-07-09T03:34:34Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4511-
dc.description.abstractการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ครูผู้สอนจะต้องปรับเปลี่ยนและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ กระบวนการ คุณลักษณะและสมรรถนะที่สามารถนำไปใช้ในวิถีชีวิตได้ บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาแนวคิดในการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ และสังคมแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเสริมสร้างสมรรถนะของความเป็นพลเมือง และ คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน บทความนี้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของสมรรถนะ แนวคิดที่สำคัญเกี่ยวกับพลเมือง ความหมายและความสำคัญของวิชาประวัติศาสตร์ หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ และเทคนิคการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมือง 3 แนวทาง คือ 1. วิธีการสอนโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical Method) 2. การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา Growth mindset 3. การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectประวัติศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectพลเมืองth_TH
dc.subjectการเรียนรู้th_TH
dc.titleเทคนิคการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะความเป็นพลเมืองth_TH
dc.title.alternativeLearning management techniques on history subject to enhance citizenship competencesth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume32th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe learning management at present has to adapt and develop learners with skills, processes, attributes and competencies that can be applied in their lifestyles. This article analyzes, synthesizes and develops concepts in the management learning on history subject and it is consistent with the competency – based education and the society of learning in the 21st century. This article aims to strengthen the capacities of citizenship and the characteristics of good citizenship in learners. This article presents knowledge about the meaning and importance of competencies, concepts about citizens, history, curriculum and learning management and learning management techniques on history subject to enhance citizenship competences in 3 approaches: (1.) Historical method (2.) The Growth mindset and (3.) Creativity-based learning.th_TH
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page11-23.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edu32n3p11-23.pdf306.77 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น