กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4484
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ถิรพิทย์ สุบงกช | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์ | th |
dc.date.accessioned | 2022-06-25T13:28:13Z | |
dc.date.available | 2022-06-25T13:28:13Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4484 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภททุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาไมโครอิมัลชันชนิดใหม่ที่มี พีอีจีหกคาพริลิกคาพริกกลีเซอร์ไรด์ เป็นสารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มการแพร่ผ่านผิวหนังของเซเลโคซิบ นอกจากนี้ยังได้มีการใช้กล้องจุลทรรศน์ชนิดส่องกราดด้วยแสงเลเซอร์เพื่อศึกษาเส้นทางในการแพร่ผ่านผิวหนังของไมโครอิมัลชันโดยใช้เทคนิคโคโลคัลไลเซชัน (colocalization สูตรตำรับไมโครอิมัลชันที่เตรียมได้ได้รับการประเมินในเรื่องของขนาด ประจุที่พื้นผิว การกระจายขนาด และชนิดของไมโครอิมัลชัน ไมโครอิมัลชันที่บรรจุเซเลโคซิบมีขนาดอนุภาคอยู่ในช่วง 48-214 นาโนเมตร มีประจุเป็นกลาง และสามารถเพิ่มการแพร่ผ่านผิวหนังของเซเลโคซิบได้ จากการศึกษาโดยกล้องจุลทรรศน์ชนิดส่องกราดด้วยแสงเลเซอร์พบว่าไมโครอิมัลชันน่าจะสัมผัสกับผิวหนังก่อนจะปลดปล่อยตัวยาเพื่อแพร่ผ่านผิวหนัง การแพร่ผ่านทางรูขุมขน (transfollicular pathway น่าจะเป็นเส้นทางหลักที่ไมโครอิมัลชันแพร่ผ่านผิวหนัง ในขณะที่ intercellular และ transcellular pathway น่าจะเป็นเส้นทางรองของการแพร่ผ่านผิวหนัง | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ไมโครอิมัลชัน | th_TH |
dc.subject | สารลดแรงตึงผิว | th_TH |
dc.subject | เซเลโคซิบ | th_TH |
dc.subject | สารต้านการอักเสบ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาสูตรตำรับและศึกษากลไกการแพร่ผ่านผิวหนังของไมโครอิมัลชันที่มีพีอีจีหกคาไพรลิกคาพริกกลีเซอร์ไรด์เป็นสารลดแรงตึงผิวเพื่อเพิ่มการนำส่งผ่านผิวหนังของเซเลโคซิบ | th_TH |
dc.title.alternative | Formulation and skin penetration mechanism evaluation of microemulsion containing PEG-6 caprylic/capric glycerides as surfactant for dermal delivery enhancement of celecoxib | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | thirapit@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to develop a microemulsion using PEG-6 Caprylic/Capric Glycerides as a surfactant to enhance the dermal delivery of celecoxib. Confocal laser scanning microscopy (CLSM) using the colocalization technique was also used to investigate the skin penetration pathway of the microemulsion. The prepared microemulsion formulations were characterized in terms of size, surface charge, size distribution and type. The celecoxib-loaded microemulsion had particle sizes ranging from 48-214 nm with neutral charge and significantly increased the skin penetration of celecoxib. According to the CLSM study, the microemulsion might attach to any part of the skin before releasing the entrapped drug to penetrate the tissue. The transfollicular pathway might be the major skin penetration pathway for the microemulsion, whereas the intercellular and transcellular pathways are minor ones. | en |
dc.keyword | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_195.pdf | 895.35 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น