กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4441
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเชวง ซ้อนบุญ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์th
dc.date.accessioned2022-06-16T06:51:44Z
dc.date.available2022-06-16T06:51:44Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4441
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนในการทำวิจัยจาก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัยก่อน ระหว่าง และหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน MATH-3C และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัยก่อน ระหว่าง และหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน MATH-3C รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียน ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ได้กลุ่มตัวอย่างมาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน MATH-3C และแบบประเมินทักษะการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย พบว่า 1. เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหารก่อนและระหว่างการทดลองอยู่ในระดับดีทั้งโดยรวม ทุกด้านและรายด้าน และหลังการทดลองอยู่ในระดับดีมากทั้งโดยรวมทุกด้านและรายด้าน 2. เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหารหลังการทดลองสูงกว่าทั้งก่อนการทดลองและระหว่าง การทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งโดยรวมทุกด้านและรายด้าน และระหว่างการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งโดยรวมทุกด้านและรายด้านth_TH
dc.description.sponsorshipคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการจัดการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectเด็กปฐมวัย - - กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน MATH-3C ที่มีต่อทักษะการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัยth_TH
dc.title.alternativeEffect of learning experience management by implementing MATH-3C learning model on executive function skills of kindergartenersen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailchawengsak@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were as follows: 1) to study the executive function skills of kindergarteners before, during, and after using the MATH-3C learning model, and to compare the executive function skills of kindergarteners before, during, and after using the MATH-3C learning model. The research model was a quasi-experimental research. The participants were 30 kindergarteners, Year 3, in the second semester of the academic year of 2020, at Piboonbumphen Demonstration School, Burapha University. The research instruments were the learning experience plan using the MATH-3C learning model, and the executive function skills of kindergarteners assessment form. The data were analyzed by using mean, standard deviation, percentage, and repeated measure ANOVA. The findings were summarized as follows: 1. The kindergarteners had the executive function skills before and during the experiment was at the good level in overall and individual aspects, and after the experiment was at the very good level in overall and individual aspects. 2. The kindergarteners had the executive function skills after the experiment significantly higher than both before and during the experiment at the .05 level in overall and individual aspects. And during the experiment were significantly higher than before the experiment at the .05 level in overall and individual aspects.en
dc.keywordสาขาการศึกษาth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_137.pdf2.97 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น