กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/443
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิชิต สุรัตน์เรืองชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:51:49Z
dc.date.available2019-03-25T08:51:49Z
dc.date.issued2543
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/443
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครูของนิสิตศึกษาศาสตร์ที่ได้รับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยใช้กระบวนการเชิงปฏิบัติ กับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพใช้วิธีการตามปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นิสิตคณะศึกษษศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2543 จำนวน 32 คน แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มทดลอง จำนวน 16 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแผนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยใช่กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติ แผนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยใช้วิธีการตามปกติ แบบทดสอบถามเจตคติต่อวิชาชีพครู ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า 1.หลังจากนิสิตได้รับการฝึกประสบการณ์โกยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติแล้วมีเจตคติทีดีต่อวิชาชีพครูสูงกว่าก่อนได้รับการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. หลังจากนิสิตได้รับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยใช้วิธีการตามปกติแล้วมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครูสูงกว่าก่อนได้รับการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นิสิตที่ได้รับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติกับนิสิตที่ได้รับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยใช้วิธีการปกติมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครูแตกต่ากันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูส่งผลต่อเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครูของนิสิตศึกษาศาสตร์th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการฝึกสอน - - หลักสูตรth_TH
dc.subjectทัศนคติth_TH
dc.subjectนักศึกษา - - ทัศนคติth_TH
dc.subjectนักศึกษา - - ทัศนะเกี่ยวกับวิชาชีพครูth_TH
dc.subjectวิจัยปฏิบัติการth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อเสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครูของนิสิตศึกษาศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeEffects of action research processes on professional experiences to foster positive attitudes towards the teaching profession of students in teacher educationen
dc.typeResearch
dc.year2543
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this experimental research were to student and compare the positive attitudes towards the teaching profession of student education , who have had professional experiences in school, by using the action research processes and the conventional processes. The sample group of this study was thirty – two year students of the Faculty of Education, Burapha University, in academic year 2000; they were separated to two groups, one was an experimental group of sixteen subjects, and the one was control group of sixteen subject. The instruments were professional experiences plans though the action research process ,professional experiences plans though the conventional processes, and a teaching profession attitudes questionnaire The results of this research of this research were at follows: 1 Positive attitudes towards the teaching profession of students in teacher education , after professional experiences through the action research processes were statistically significantly than at .01 level 2. Positive attitudes toward teaching profession of students in teacher education , after professional experiences though the conventional , were statistically significantly higher than before at.01 level 3. Positive attitudes towards teaching profession of students in teacher education in the experimental group , and the control group statistically different at.01level. The conclusion of this research was that the action research processes. Using professional experiences, had more effects towards promoting positive attitudes in teaching profession of student in teacher education.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2543_008.pdf7.24 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น