กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4435
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประจักษ์ จิตเงินมะดัน | |
dc.contributor.author | ประวิทย์ บุญมี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ | th |
dc.date.accessioned | 2022-06-16T06:13:11Z | |
dc.date.available | 2022-06-16T06:13:11Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4435 | |
dc.description | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินรายได้ คณะวิทยาการสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เลขที่สัญญา 003/2563 | th_TH |
dc.description.abstract | ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดดและกระแสรักษาสิ่งแวดล้อมส่งผลให้ความต้องการด้านการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้ามีเพิ่มสูงขึ้นมาก และคาดการณ์ว่าในอนาคตอันใกล้นี้ จะมาทดแทนรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปในปัจจุบัน ดังนั้น ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์จำเป็นจะต้องมีการฝึกทักษะ (Training) ให้แก่พนักงานใหม่ และในแต่ละครั้ง ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการฝึกทักษะเป็นอย่างมาก รวมถึงบางบริษัทที่ทำการผลิตอะไหล่ต่าง ๆ ต้องหยุดขั้นตอนการผลิตลงเพื่อฝึกทักษะพนักงานใหม่เหล่านั้น ซึ่งนอกจากจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายแล้ว ยังทำให้เสียเวลาในการผลิตอะไหล่รถยนต์ต่าง ๆ อีกด้วย งานวิจัยนี้จึงมีการออกแบบและพัฒนาระบบ Virtual Reality (VR) Training ที่ช่วยการฝึกทักษะของพนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดย Virtual Reality (VR) Training นี้ มีการประยุต์ใช้เทคโนโลยี Virtual Reality (VR) ในการฝึกทักษะ ซึ่งเป็นการจำลองการประกอบแผงวงจรรถยนต์ไฟฟ้า Electronic Vehicle (EV) แบบเสมือนจริง โดยมีการออกแบบบทเรียนตามหลักทฤษฎีทางการศึกษาแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการใช้โปรแกรม Blender และ Maya ในการพัฒนาวัตถุ 3 มิติ และมีการใช้โปรแกรม Unreal Engine 4 ในการพัฒนาการปฏิสัมพันธ์และ Virtual Reality ซึ่งระบบนี้ส่งเสริมให้ผู้ฝึกปฏิบัติได้รับประสบการณ์ในการประกอบรถยนต์ไฟฟ้าเสมือนจริงและมีผลการทดสอบการเรียนรู้จากการปฏิบัติเป็นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง และระบบการฝึกเสมือนจริงนี้ ยังช่วยลดปัญหาเรื่องเวลาและค่าใช้จ่ายของการฝึกพนักงานลงได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมยานยนต์ | th_TH |
dc.subject | รถยนต์ไฟฟ้า | th_TH |
dc.title | การออกแบบและพัฒนาระบบการฝึกปฏิบัติเสมือนจริงสำหรับงานอัตโนมัติในพื้นที่ EEC กรณีศึกษาการฝึกปฏิบัติการประกอบรถยนต์ไฟฟ้า | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | prajaks@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | prawit@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | In the near future, the use of Electrical Vehicles (EV) will replace the fuel-driven traditional automotives. For the automotive industry, this will be a big change in terms of reskilling and upskilling of the employees. The most efficient training is to learn from the real environment. However, this kind of learning needs high cost and it is time consuming. In this work, we aimed to help the automotive industry to train its employees as many as possible with the lowest cost. Therefore, the Virtual Reality Technology (VR) takes place. We demonstrated that the use of Virtual Reality helps the automotive industry to train its employees efficiently. The system can reduce the training time and it costs less than using the real environment. The quality of training is high and effective for the real use in the training phase for the industry. By using our VR system, a trainee does not have to worry about damaging work or travel to a training center. The whole training can be done at home or anyplace that is equipped with VR equipment and high performance PC. | en |
dc.keyword | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_132.pdf | 5.64 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น