กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4430
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุพรรณี สวนอินทร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์ | th |
dc.date.accessioned | 2022-06-16T03:55:05Z | |
dc.date.available | 2022-06-16T03:55:05Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4430 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ งานวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี จากกองทุนเพื่อการวิจัย เงินอุดหนุนทุนการวิจัย คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | เมื่อพิจารณาถึงการประกอบกิจการเรือสำราญระหว่างประเทศ (cruise ship) ในปัจจุบัน นับว่าธุรกิจนี้มีการขยายการเติบโตของธุรกิจและสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้เป็นอย่างมาก แต่เมื่อพิจารณาถึงการประกอบกิจการขนส่งผู้โดยสารระหว่างประเทศขนาดใหญ่ในประเทศไทย กลับพบว่า ไม่มีการประกอบกิจการเรือสำราญโดยผู้ประกอบการไทยเลย ซึ่งปัจจัยส่วนหนึ่งมาจากการขาดมาตรการในการส่งเริมการประกอบกิจการเรือสำราญระหว่างประเทศขนาดใหญ่ (cruise ship) ที่มีความเหมาะสมกับสภาพการณ์และความต้องการที่แท้จริงของธุรกิจเรือเรือสำราญ ดังนั้น หากมี ความต้องการให้เกิดการประกอบกิจการเรือสำราญระหว่างประเทศที่ดำเนินงานโดยผู้ประกอบการไทยขึ้น ย่อมต้องพิจารณาถึงมาตรการของรัฐ สิทธิประโยชน์ที่ใช้ในการส่งเสริมการประกอบกิจการเรือสำราญระหว่างประเทศที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบันว่ามีความเหมาะสม สามารถดึงดูดใจให้ผู้ประกอบกิจการเรือสำราญเข้ามาประกอบกิจการนี้ได้หรือไม่ รวมทั้งประเด็นด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับเรือสำราญระหว่างประเทศ ในส่วนนี้ย่อมต้องพิจารณาว่าหลักเกณฑ์ทางกฎหมายหรือมาตรการที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันนั้น มีอยู่อย่างเพียงพอ และมีความเหมาะสมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับเรือสำราญระหว่างประเทศหรือไม่ | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เรือสำราญ | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนากฏหมายของประเทศไทยเกี่ยวกับการประกอบกิจการเรือสำราญระหว่างประเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of legislation in Thailand regarding shipping business for international cruise ship | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | supannee.suanin@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Considering the current operation of the international cruise ship business, this business has significantly expanded its business growth and created significant economic value. But when considering the large international passenger transport business in Thailand Instead, it was found that no cruise ship was operated by Thai entrepreneurs. This is partly due to the lack of measures to start the operation of large international cruise ships that are suitable for the real situation and needs of the cruise ship business. An international passenger ship operated by a Thai operator would have to consider the measures of the state the privileges used in the promotion of the operation of the international passenger vessel currently in force are appropriate. Is it able to attract the hearts of cruise operators to operate this business or not? As well as environmental impact issues from business operations involving international passenger ships. In this section, it is necessary to consider whether the current legal basis or measure sufficient and is it appropriate to prevent and solve environmental problems arising from the operation of international passenger ships? | en |
dc.keyword | เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) | th_TH |
dc.keyword | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_127.pdf | 1.29 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น