กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4428
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorพรพรรณ อร่ามแสงเทียนชัย
dc.contributor.authorจันทร์จรัส วัฒนะโชติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์th
dc.date.accessioned2022-06-15T09:20:12Z
dc.date.available2022-06-15T09:20:12Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4428
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย ประเภทประเภทเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เลขที่สัญญา SC๐๗/๒๕๖๓th_TH
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ได้สกัดสารพอลิแซ็กคาไรด์จากอวัยวะภายในที่เหลือทิ้งของปลิงทะเลลูกบอล (Phyllophorella kohkutiensis) ที่ได้จากจังหวัดสุราษฎร์ธานีและสตูล เพื่อนำมาศึกษาถึงโครงสร้างและน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่เป็นองค์ประกอบ ตลอดจนฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจ จากการสกัดสารประกอบพอลิแซ็กคาไรด์ได้ %Yield เท่ากับ 0.36% โดยคำนวณจากน้ำหนักแห้งของสารสกัดหยาบที่ได้เทียบกับน้ำหนักเปียกของอวัยวะภายในตั้งต้นที่ใช้ และมีปริมาณคาร์โบไฮเดรตรวม กรดยูโรนิก และซัลเฟต คิดเป็น 33.24% 8.70% และ 25.55% ตามลำดับ จากการศึกษาโครงสร้างของสารสกัดหยาบที่ได้ด้วยเทคนิค FT-IR พบว่าสารสกัดที่ได้จัดเป็นสารประกอบพอลิแซ็กคาไรด์ที่มีหมู่ซัลเฟตเป็นองค์ประกอบ จากนั้นได้นำสารสกัดหยาบไปทำบริสุทธิ์ด้วยคอลัมน์โครมาโตกราฟีแบบแลกเปลี่ยนประจุชนิด DEAE-Sepharose แล้วนำไปวิเคราะห์หาน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่เป็นองค์ประกอบของพอลิแซ็กคาไรด์ด้วยการตัดด้วยกรดไตรฟลูออโรอะซิติก ตามด้วยเทคนิค HPLC ผลที่ได้พบว่าสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ประกอบด้วยน้าตาลแมนโนส กลูโคซามีน กรดกลูคูโรนิก กรดกาแลกทูโรนิก กลูโคซามีน และ/หรือเอ็น-อะซิทิล กลูโคซามีน ไซโลส และฟูโคส นอกจากนี้สารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ที่ได้สามารถยับยั้งการทำงานของ Angiotensin-converting enzyme ได้th_TH
dc.description.sponsorshipคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปลิงทะเลth_TH
dc.titleการสกัดและทำบริสุทธิ์สารประกอบซัลเฟตพอลิแซ็กคาไรด์จากอวัยวะภายในของปลิงทะเลลูกบอลที่เหลือทิ้งเพื่อใช้เป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพth_TH
dc.title.alternativeExtraction and purification of sulfated polysaccharide from viscera waste of Phyllophorella kohkutiensis for bioactive compound developmenten
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpornpun.ar@go.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailjanjarus@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeIn this research, polysaccharide compounds were extracted from the viscera of sea cucumber, Phyllophorella kohkutiensis, collected from Surat Thani and Satun provinces, Thailand. The extract was characterized for its structure and monosaccharide composition. From the result, %yield of the crude polysaccharide extract was 0.36% (w/w), calculated from dry weight of the extract per wet weight of used viscera. Moreover, the amount of total carbohydrate, uronic acids and sulfate in the extract was found 33.24% 8.70% and 25.55%, respectively. The structure of crude polysaccharide extract was further characterized by FT-IR technique. The result suggested that the extract is sulfated polysaccharide. After that the crude extract was purified using DEAE-ion exchange column chromatography. The eluted polysaccharides was pooled, dialyzed, and further analyzed for monosaccharide composition using trifluoracetic acid hydrolysis and HPLC techniques, respectively. The purified polysaccharide extract was composed of different monosaccharides such as mannose, glucosamine hydrochloride, glucuronic acid, galacturonic acid, galactosamine hydrochloride and/or N-acetyl-D-glucosamine, xylose and fucose. Moreover, the polysaccharide extract showed the inhibitory effect against angiotensin converting enzyme (ACE) activity.en
dc.keywordสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_125.pdf464.82 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น