กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4409
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจริยาวดี สุริยพันธุ์
dc.contributor.authorสุธาวี แท่นนาค
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์th
dc.date.accessioned2022-06-06T05:13:12Z
dc.date.available2022-06-06T05:13:12Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4409
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากส่วนงาน (คณะวิทยาศาสตร์) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวิทยาลัยบูรพา เลขที่สัญญา SC 04/2563th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อที่จะศึกษาปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ในหญ้าทะเลและดินตะกอน บริเวณเกาะกูด โดยเก็บตัวอย่างจาก 3 สถานี ในช่วงเดือนมิถุนายน และกรกฏาคม พ.ศ.2563 ประเมินมวลชีวภาพส่วนเหนือดิน ใต้ดิน และปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ของหญ้าทะเล เปรียบเทียบการสะสมคาร์บอนอินทรีย์ในดินตะกอนความลึกระหว่าง 0 – 5 5 – 10 และ 10 – 15 เซนติเมตร พบหญ้าทะเลจำนวน 4 ชนิด โดยมีหญ้าทะเลชนิด ได้แก่ Cymodocea serrulata Halodule pinifolia Halodule uninervis และ Halophila ovalis โดยพบ Cymodocea serrulata เป็นหญ้าทะเลชนิดเด่นของพื้นที่ มวลชีวภาพเฉลี่ยของพื้นที่มีค่า 217.5±11.4 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตร โดยบริเวณอ่าวกะลังมีมวลชีวภาพ และชนิดหญ้าทะเลสูงสุด (270.46±33.38 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตร) ปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ทั้งมวลชีวภาพส่วนเหนือดิน และส่วนใต้ดินในหญ้าทะเลแต่ละชนิดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p<0.05) และปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ในแนวหญ้าทะเลแบบผสมจะมีค่าสูงกว่าแนวหญ้าทะเลชนิดเดียว รวมถึงมีแนวโน้มสัมพันธ์กับปริมาณมวลชีวภาพส่วนใต้ดิน ปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ในดินตะกอนมีค่ามากที่ระดับความลึก 5-10 เซนติเมตร แสดงให้เห็นว่าส่วนลำต้นใต้ดินมีบทบาทต่อการสะสมคาร์บอนอินทรีย์ในดินth_TH
dc.description.sponsorshipคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectหญ้าทะเล - - ไทย - - ตราดth_TH
dc.subjectดินตะกอนth_TH
dc.titleการสะสมของคาร์บอนอินทรีย์ในหญ้าทะเลและดินตะกอน เกาะกูด จังหวัดตราดth_TH
dc.title.alternativeOrganic carbon content sequestration in seagrass and sediment Koh Kood, Trat. provinceen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailjariyavadee@buu.ac.thth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was determined total organic carbon in seagrass and sediment around Koh Kood island. The sample were collected from 3 station on June and July, 2019. Above-ground and below-ground biomass and organic carbon of seagrass were determined. The carbon accumulation on sediment was compare between depth, 0 – 5, 5-10 and 10 – 15 centrimeters. There were 4 seagrass species found in this study, Cymodocea serrulata Halodule pinifolia Halodule uninervis and Halophila ovalis. Cymodocea serrulata was the dominant species. The average of seagrass biomass was 217.5±11.4 g/dry weight. The highest biomass and species were found at Ao Ka-lung (270.46±33.38 g/dry weight). Organic carbon between above-ground biomass and below-ground of each species were not significantly difference 95% (p<0.05). The organic carbon content of the mix species seagrass bed was higher than monospecies seagrass bed and related with below-ground biomass. Otherwise, the total organic carbon in sediment was highest at 5-10 centimeters depth, that showed the below-ground biomass play a role in soil organic carbon accumulation.en
dc.keywordสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_106.pdf876.49 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น