กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4370
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นุชจรินทร์ วรรณพงษ์ | |
dc.contributor.author | ประภาศรี ถนอมจิตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2022-05-22T11:02:49Z | |
dc.date.available | 2022-05-22T11:02:49Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4370 | |
dc.description | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัย คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาการให้บริการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดสำนักงานคณบดี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2. เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดสำนักงานคณบดี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการให้บริการกับคุณภาพการให้บริการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดสำนักงานคณบดี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประชากรในการวิจัยคือ บุคลากรและนิสิตคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตัวอย่างในการวิจัยคือ บุคลากรและนิสิตคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 485 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า การให้บริการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยการให้บริการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลาดับคะแนนจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านบุคลิกภาพของเจ้าหน้าที่ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านระบบการบริการ ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านระยะเวลา และด้านความสะดวกในการบริการ โดยรวมคุณภาพการให้บริการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการอยู่ในระดับมาก ทุกด้านมีคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับมาก เรียงลาดับคะแนนจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการให้บริการอย่างเท่าเทียมกัน ด้านการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ด้านการให้บริการอย่างรวดเร็วทันเวลา ด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ และด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า ปัจจัยการให้บริการทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการให้บริการของพนักงาน สายสนับสนุนโดยรวม ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 เรียงลำดับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ปัจจัยการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านระยะเวลา ด้านความสะดวกในการบริการ ด้านระบบการบริการ ด้านบุคลิกภาพของเจ้าหน้าที่ และด้านสภาพแวดล้อม | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | คุณภาพการให้บริการ | th_TH |
dc.subject | พนักงานมหาวิทยาลัย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพการให้บริการของพนักงาน สายสนับสนุนวิชาการ สังกัดสำนักงานคณบดี คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors Relating to Service Quality of Staff (Academic Support Field), Dean Office, Faculty of Political Science and Law, Burapha University | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | nuchtarin@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | jikzow2527@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed 1. to study on service of academic support staff in Dean office, Faculty of Political Science and Law, Burapha University; 2. to study on the service quality of academic support staff in Dean office, Faculty of Political Science and Law, Burapha University; and, 3. to study on the relationship between factors of service and service quality of academic support staff in Dean office, Faculty of Political Science and Law, Burapha University. Populations and samples of this research were 485 of personnel and students from Faculty of Political Science and Law, Burapha University. Research tool was the questionnaire. Statistics applied for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and correlation coefficient. It was found from the results of the study that overall, service from academic support staff was at high level where the service from academic support staff in all aspects were high. It could be ranked from high to low as follows: staff personality, environment, service system, service quality and convenience of service. Overall, service quality from academic support staff was in high level; and from all aspects, service quality was in high level as well. It could be ranked from high to low as follows: equality of services, continuous of service, speed and timely of service, sufficient service and advanced service. All factors of service providing were related to overall service quality of academic support staff at the significance level of 0.01. These factors could be ranked in term of relationship from high to low as follows: service factors related to service quality, time period, convenience of service, staff personality, and environment. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_062.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น