กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4369
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภานุ สรวยสุวรรณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2022-05-22T10:47:18Z | |
dc.date.available | 2022-05-22T10:47:18Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4369 | |
dc.description | งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งทุนอุดหนุนงานวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2562 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการพรรณนาวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรมแบบ Conceptual Art เปรียบเทียบกับแนวคิดในทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากผู้วิจัยมีความเชื่อว่าปรัชญาในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะการอธิบายถึงเรื่อง ชีวิตและความตาย ซึ่งเป็นปรัชญาที่ลึกซึ้งและแสดงความเป็นจริงตามหลักของธรรมชาติซึ่งมนุษย์ทุกคนควรศึกษาและทำความเข้าใจ ประเด็นที่ผู้วิจัยให้ความสนใจคือปรัชญาในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับทัศนะเรื่องชีวิตและความตายนี้ ได้ปรากฏให้เห็นอยู่ในผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยตะวันตกหลายชิ้นผลงาน โดยเฉพาะศิลปกรรมในแบบ Conceptual Art ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดในผลงานศิลปกรรมในกลุ่มนี้โดยที่ได้ทำการคัดเลือกผลงานของศิลปะที่มีชื่อเสียงในระดับตำนานด้านศิลปะ Conceptual Art จำนวน 5 ผลงาน โดยนำผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับทัศนะเรื่องชีวิตและความตายในทางพระพุทธศาสนา ผลการวิเคราะห์ผู้วิจัยพบว่า ศิลปะะร่วมสมัยแบบตะวันตกถึงแม้จะมีรากฐานความคิดในทางวัตถุนิยมก็ตาม แต่ผลลัพธ์ที่ได้คือผลงานที่คัดเลือกมากลับแสดงความหมายเกี่ยวข้องกับเรื่อง ไตรลักษณญาณ เป็นอย่างมาก นั่นคือชีวิตเป็นความไม่เที่ยงแท้ แปรปรวนไปตามกาลเวลา สุดท้ายชีวิตก็จะดำเนินไปสู่ความตาย และความตายเป็นเพียงการส่งผ่านชีวิตไปสู่ภพใหม่ ปรัชญาเช่นนี้เป็นความจริงอันประเสริฐที่ผู้วิจัยเชื่อว่า เป็นความจริงสากลและจะทำให้บุคคลที่เชื่อในหลักการนี้ไม่ตกอยู่ในความประมาท | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | พุทธปรัชญา | th_TH |
dc.subject | ศิลปกรรมร่วมสมัย | th_TH |
dc.title | พุทธปรัชญา ปรัชญาสากล : เล่าเรื่องพุทธปรัชญาผ่านผลงานศิลปะแบบ Conceptual art | th_TH |
dc.title.alternative | Buddhist, the universal philosophy : tell the buddhist philosophy through the conceptual art | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | panu_tao@hotmail.com | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is a descriptive analysis in the meaning of the conceptual art compared with the concepts of Buddhism. Because the researchers believe that the philosophy in Buddhism, especially the explanation of human life and death are profound philosophies and show the reality of the natural rule that every person should study and understand. The issue in philosophy of Buddhism that the researcher interested is the view of life and death that appeared in many works of contemporary art, Especially Conceptual Art. Therefore, the researcher has studied and analyzed the concepts in the conceptual art, which selected 5 works of famous legendary artists in contemporary art, by comparing with the views of life and death in the Buddhist way. The results of research found that Western contemporary art, even base from materialistic ideas but all of selected works show meaning relevant to the Three marks of existence. Which mean life is impermanence and life forereach to death in finally. The death is beginning to transfer life to a new world. This philosophy is the ultimate truth that the researchers believe. This truth will prevent those who believe in this principle to live without recklessness | en |
dc.keyword | สาขาปรัชญา | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_085.pdf | 7.26 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น