กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/435
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ประชุม รอดประเสริฐ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:51:49Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:51:49Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/435 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการบริหารงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนางานสำนักงานเขตพิ้นที่การศึกษาของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาในเขตพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน และผู้อพนวยการสถานศึกษา จำนวน 132 คน และผุ้อำนวยการเขตพื้นที่การตศึกษา จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสองประเภท ประเภทแรกเป็นแบบสอบถามแบบมาตรฐาน ส่วนประมาณค่าเกี่ยวกับความสามารถ ในการบริหารงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา 6 กลุ่มงานประกอบด้วย กลุ่มงานอำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา และกลุ่มตรวจสอบภายใน ประเภทที่สองเป็นแบบสัมภาษณ์ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนางานแต่ละกลุ่มงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x¯) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) และการทดสอบค่าวิกฤตที (t-test) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ความสามารถการบริหารงานเขตพื้นที่การศึกษาของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาทุกกลุ่มงานอยู่ในระดับค้อนข้างดี 2.ความสามารถการบริหารงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยรวม กลุ่มอำนวยการ กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มส่งเสริมและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา และกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศนึกษา ของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ระหว่างความคิดเห็นของหัวหน้างานจกับผู้อำนวยการสถานศึกษาแตกต่างกัน ยกเว้นกลุ่มบริหารงานบุคคล และหน่วยตรวจสอบภายในบุคลากรทางการศึกษาทั้งสองกลุ่มมีความเห็นไม่แตกต่างกัน 3. ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษามีแนวทางในการพัฒนางานเขตพื้นที่การศึกษาดังนี้จัดทำระบบอีเลคโทรนิก (e-office) จัดทำระบบข้อมูลบุคลากร จัดทำระบบข้อมูลและสารสนเทศสำนักงานและสถานศึกษา จัดทำระบบข้อมูลบุคคลวัยเรียนในชุมชนให้ครอบคลุมพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นของสถานศึกษา และพัฒนาดัชนีบ่งชี้ และมาตรฐานการตรวจสอบภายใน | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2549 ของคณะศึกษาศาสตร์ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การศึกษา - - การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษา - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสามารถในการบริหารและการพัฒนางานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาของผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ในเขตพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Ability and guidelines for task development of educational service area directors in the Eastern Seaboard Development Area | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2549 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the study aimed at 1) examining the ability to deal with the administrative tasks of the directors of education service areas in the Eastern Seaboard Development Area. And studying the guidelines of the directors for improving each administrative task of the offices. Sample comprised 132 division heads and school principals and 7 directors of the education service areas. The instrument used for collecting data consisted of two type of the questionnaire; the first one was a rating scale questionnaire concerning to six tasks of the education service area offices: directorate division, personnel division, policy and plan division, division of educational management and development, division of education supervision, monitoring and evaluation, and internal audit division, and the second one was the constructed interview questionnaire guided for improving each administrative task of the education service area directors. Statistics used for data analysis were means, standard deviation, and the t-test. The results revealed as follows. 1. The directors of education service areas had been able to perform their tasks only as the level of fairly good. 2. The perceptions of division heads and school principals towards job performance of the directors were different at.05 level of significance. 3. Main guidelines for improving the tasks of educational sevice areas were as follows; establishing the e- office system for general management , setting up data and information management system for personnel and planning management, surveying and collecting community school – aged data, preparing and developing local and community curriculum for schools, and setting up the clear cut indicators and standards for internal auditory. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น