กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/434
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:51:49Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:51:49Z | |
dc.date.issued | 2543 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/434 | |
dc.description.abstract | แบบทดสอบหรือข้อสอบที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน คือข้อสอบแบบเลือกตอบเพราะข้อสอบแบบเลือกตอบสามารถวัดได้ครอบคลุมจุดประสงค์ ตรวจให้คะแนนสะดวกและแน่นอน ข้อสอบแบบเลือกตอบยังสามารถใช้แทนข้อสอบรูปแบบอื่น ๆ ได้แม้แต่ข้อสอบแบบความเรียง (Essay test) จากผลงานวิจัยของคุค (Cook. อ้างจาก Ebel. 1979: 137) บอกว่าข้อสอบทั้งสองแบบที่วัดผลสัมฤทธิ์สิ่งเดียวกันมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.97 นั่นคือ มีความสัมพันธ์กันสูงมาก อาจใช้แทนกันได้ดีในบางจุดประสงค์ การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบเพื่อให้ได้ข้อสอบที่ดีนั้นเขียนยากกว่าข้อสอบแบบใด ๆ ทั้งหมด ต้องคำนึงถึงส่วนประกอบหลายอย่างเพื่อให้ได้ตัวข้อสอบออกมา เมื่อสร้างข้อสอบได้แล้วยังต้องนำข้อสอบนั้นไปวิเคราะห์หาคาทางสถิติอีกคือ 1) หาค่าระดับความยากง่าย p (Level of difficulty) 2) การค่าอำนาจจำแนก ()Discrimination power) คือค่าอำแนกคนเก่งและไม่เก่ง เมื่อได้ค่า p และ r ของข้อสอบแต่ละข้อแล้วจึงทำการคัดเลือกข้อสอบเฉพาะข้อที่มีค่า p และ r ที่ใช้ได้ส่วนข้อที่ใช้มี่ได้ก็นำไปปรับปรุง จากนั้นก็รวบรวมข้อสอบทำเป็นชุดข้อสอบ ก็จะได้ชุดข้อสอบที่ดี มีคุณภาพตามต้องการ สำหรับงานวิจัยนี้ได้จัดทำชุดข้อสอบจำนวน 18 ชุด โดยแบ่งเป็นระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 6 ชุด แบ่งตามรายวิชาดังนี้ 1) วิชาคณิตศาสตร์ 3 ชุด 2) วิชาวิทยาศาสตร์ 3 ชุด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 12 ชุด แบ่งตามรายิวชาดังนี้ 1) วิชาคณิตศาตร์ 3 ชุด 2) วิชาเคมี 3 ชุด 3) วิชาชีววิทยา 3 ชุด 4) วิชาฟิสิกส์ 3 ชุด ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์ค่า p และ r เรียบร้อยแล้ว และถือว่าเป็นผลงานของการวิจัยฉบับนี้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยบูรพา งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2543 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การวัดผลทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ข้อสอบ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การสร้างคลังข้อสอบทางวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์เพื่อใช้ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | A construction treasury of test in science and mathematics for the national science week of the east | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2543 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_217.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น