กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4347
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เอกวิทย์ มณีธร | |
dc.contributor.author | โชติสา ขาวสนิท | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | th |
dc.date.accessioned | 2022-05-19T11:09:22Z | |
dc.date.available | 2022-05-19T11:09:22Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4347 | |
dc.description | สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัย คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเยียวยาในโรงพยาบาล 2) เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลชลบุรี ระยอง และพุทธโสธร ในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ปี พ.ศ. 2563 และ 3) เพื่อศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเยียวยาในโรงพยาบาลที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลชลบุรี ระยอง และพุทธโสธร ในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ปี พ.ศ. 2563 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นประชากรที่ใช้บริการในโรงพยาบาลชลบุรี ระยอง และพุทธโสธร ใน ปี พ.ศ. 2563 ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือประชากรที่ใช้บริการในโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเยียวยาในโรงพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับคะแนนรายด้านจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมทางด้านจิตใจ ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ คุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การให้บริการของโรงพยาบาลด้านการปรับปรุงขั้นตอน ด้านภาวะความเป็นผู้นำ ด้านความคาดหวังของผู้รับบริการ และด้านการจัดการกับแหล่งข้อมูลที่สำคัญ การจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมทางด้านจิตใจมีความสัมพันธ์กับคะแนนคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลทั้งด้านความคาดหวังของผู้รับบริการ ด้านภาวะความเป็นผู้นำ ด้านการปรับปรุงขั้นตอน ด้านการจัดการกับแหล่งข้อมูลที่สำคัญ และโดยรวม โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันและมีความสัมพันธ์ในระดับสูง ปัจจัยการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลโดยรวม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตใจ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสภาพแวดล้อมทางสังคม โดยปัจจัยทั้ง 3 รวมกันสามารถอธิบายคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลได้ร้อยละ 80.4 | th_TH |
dc.description.sponsorship | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก | th_TH |
dc.subject | การจัดการสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | คุณภาพการบริการ | th_TH |
dc.title | การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อเอื้อต่อการเยียวยาในโรงพยาบาลต่อคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลชลบุรี ระยอง และพุทธโสธร ในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ปี พ.ศ. 2563 | th_TH |
dc.title.alternative | Hospital Environmental Management Facilitating Healing Towards Service Quality of Chonburi Rayong and Buddhasothorn Hospital in Eastern Economic Corridor (EEC) Year 2020 | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | ekwmnt@yahoo.co.th | th_TH |
dc.author.email | shotianne@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2564 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed 1) to study on the hospital environmental management for the healing facilitation; 2) to study on the service quality provided by Chonburi Rayong and Buddhasothorn Hospital in Eastern Economic Corridor (EEC) in year 2020; and, 3) to study on the hospital environmental management facilitating healing towards service quality of Chonburi Rayong and Buddhasothorn Hospital in the Eastern Economic Corridor (EEC) in year 2020. The research population were people who received services from Rayong and Buddhasothorn Hospital in year 2020. The amount was uncertain. The samples in this study were 400 of those who received services from the three hospitals retrieved from convenience sampling method. The tool for data collection was the questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, average, and standard deviation, correlation coefficient and multiple regression analysis. It was found from the study results that the hospital environmental management for the healing facilitation overall presented in the highest level, ranking from most to least as mental environment, physical environment, social environment and natural environment. The hospital service quality overall presented in the highest level, ranking from most to least as hospital services on the aspect of procedural improvement, leadership, expectation from service receivers, and crucial data source management. Environmental management either on physical, natural, social or mental environment was associated with the score of hospital service quality either on the aspects of expectation from service receivers, leadership, procedural improvement, or crucial data source management. Overall, they had the high level of relationship into the same direction. The environmental factors with influences on the hospital service quality overall were for instance, mental environment, physical environment, and social environment. All the three factors | en |
dc.keyword | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_047.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น