กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4327
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สวามินี ธีระวุฒิ | - |
dc.contributor.author | ปฏิยุทธ์ ขวัญอ่อน | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-01T03:42:35Z | - |
dc.date.available | 2022-05-01T03:42:35Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4327 | - |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาผลของการเก็บรักษาปลาเห็ดโคนด้วยการแช่ในน้ำแข็งที่ผสมกรดอินทรีย์ที่ความเข้มข้นแตกต่างกันต่อคุณภาพของปลาเห็ดโคน ที่มีระดับความเข้มข้นของกรดอินทรีย์ที่ใช้แตกต่างกัน 4 ความเข้มข้น ได้แก่ L500 (กรดแล็กติก 0.050%), L507 (กรดแล็กติก 0.050% และกรดซิตริก 0.075%), L512 (กรดแล็กติก 0.050% และกรดซิตริก 0.125%) และ L517 (กรดแล็กติก 0.050% และกรดซิตริก 0.175%) เปรียบเทียบกับปลาเห็ดโคนที่แช่ในน้ำแข็งไม่ผสมกรดอินทรีย์ (ICE0) เป็นเวลา 26 วัน พบว่า การน้าปลาเห็ดโคนมาแช่ในน้ำแข็ง L517 ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี (pH, TVB-N และ TMA-N) คุณภาพทางกายภาพ (% cooking loss, สี และแรงเฉือน) คุณภาพคุณภาพทางจุลินทรีย์ (จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด) และคุณภาพทางประสาทสัมผัส (ลักษณะปรากฏ กลิ่น รสชาติและเนื้อสัมผัส) ได้ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ L512, L507, L500 และ ICE0 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาอายุการเก็บรักษาจากคุณภาพทางประสาทสัมผัส (คะแนนการยอมรับด้านกลิ่นน้อยกว่า 5 คะแนน) ทำให้ปลาเห็ดโคนมาแช่ในน้ำแข็ง L517, L512, L507 และ L500 เก็บรักษาได้ 16, 14, 14 และ 12 วัน ตามลำดับ ส่วน ICE0 มีอายุการเก็บรักษา 8 วัน และการแช่ปลาเห็ดโคนในน้ำแข็งที่ผสมกรดกรดแล็กติก 0.050% และกรดซิตริก 0.175% เป็นระยะเวลานานขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี กายภาพ จุลชีววิทยาและประสาทสัมผัสมากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ปลาเห็ดโคน | th_TH |
dc.title | ผลของการใช้น้ำแข็งที่ผสมกรดอินทรีย์จากธรรมชาติต่อคุณภาพของปลาเห็ดโคนแช่เย็น | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of a natural organic acid-icing system on the quality of chilled silver sillago | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | sawamin@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | patiyut_kw@rmutto.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The effect of natural organic acid-icing system on the quality of chilled Silver Sillago by organic acid-icing system four conditions: L500 (0.050% lactic acid), L507 (0.050% lactic acid and 0.075% citric acid), L512 (0.050% lactic acid and 0.125% citric acid) and L517 (0.050% lactic acid and 0.175% citric acid) were compared to fish were none organic acid-icing system during ice storage of 26 days was investigated. L517 was the most effectively retarded chemical (pH, TVB-N and TMA-N), physical (% cooking loss, color and shear force), microbiological (total plate count) and sensorial (appearance, odor, texture and tasty) qualities loss of cooked fish and were followed by L512, L507, L500 and ICE0, respectively. Considering the shelf life of product by the sensorial quality (odor scores were less than 5 points). The shelf life of L517, L512, L507 and L500 were 16, 14, 14 and 12 days respectively. The shelf life of ICE0 was only 8 days. Immersion of Silver Sillago in natural organic acid-icing system for a longer period of time were more changed for the chemical, physical, microbiological and sensory qualities. | th_TH |
dc.keyword | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_035.pdf | 1.79 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น