กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4302
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อภิญญา นวคุณ | |
dc.contributor.author | ศิริรัตน์ ชาญไววิทย์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | th |
dc.date.accessioned | 2022-02-25T09:15:09Z | |
dc.date.available | 2022-02-25T09:15:09Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4302 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | โครงการวิจัยนี้ได้ประเมินการปนเปื้อนของสารประกอบสารหนู 4 ชนิด ทำการวิเคราะห์ปริมาณ ด้วยเทคนิคเพริจ์แอนด์แทรป-แก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปกโตรเมทรี และใช้เทคนิคการสกัดด้วยอัลตร้า โซนิกในการเตรียมตัวอย่างของแข็ง ได้วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบสารหนูในตัวอย่างน้ำทะเล ดิน ตะกอน หอยแมลงภู่และแพลงค์ตอนที่เก็บจากพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยเก็บตัวอย่างทุก 1 เดือนเป็นระยะเวลา 2 ปี ระหว่างเดือนสิงหาคม 2559 ถึงเดือนกรกฎาคม 2560 ผลการศึกษาพบเฉพาะ สารหนูอนินทรีย์ในตัวอย่างน้ำทะเลและตะกอนดิน ซึ่งมีค่า 0.82±0.63 และ 1.35±0.40 ไมโครกรัมต่อ ลิตร และ 25.32± 6.50 และ 7.18±4.45 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม สำหรับ As(III) และ As(V) ในตัวอย่างน้ำ ทะเลและตะกอนดินตามลำดับ และพบ As(III) As(V) MMA และ DMA ในตัวอย่างหอยแมลงภู่ ซึ่งมีค่า 2.28±1.61 1.58±1.41 1.59±1.01 และ 5.34±7.74 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ อย่างไรก็ตามไม่ พบสารประกอบสารหนูทุกชนิดในตัวอย่างแพลงค์ตอน โดยปริมาณสารประกอบสารหนูทุกชนิดที่พบมีค่า ต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่เกี่ยวข้องซึ่งสามารถบ่งชี้ได้ว่าการปนเปื้อนของสารประกอบสารหนูที่ศึกษานี้ไม่มี ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของ สารประกอบสารหนูในสิ่งแวดล้อมด้วย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สารประกอบอาร์เซนิก -- การวิเคราะห์ | th_TH |
dc.subject | สารประกอบอาร์เซนิก | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การศึกษาการจำแนกชนิดของสารประกอบสารหนูในสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.title.alternative | The study of arsenic speciation in environment | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | apinyan@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | sirirat@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | In this research project, the contamination of four arsenic compounds was evaluated by using purge and trap gas chromatography mass spectrometry couple with ultrasonic extraction. The arsenic compounds in sea water, sediment, green mussel (P. viridis) and plankton samples were determined. The samples were collected from Mueang District, Chonburi Province every month for 2 years from August 2015 to July 2017. The results revealed that only inorganic arsenic species were found in sea water and sediment samples. The amount of 0.82±0.63 and 1.35±0.40 μg/L and 25.32± 6.50 and 7.18±4.45 μg/kg were found for As(III) and As(V) from sea water and sediment samples respectively. The arsenic species of As(III) As(V) MMA and DMA as 2.28±1.61 1.58±1.41 1.59±1.01 และ 5.34±7.74 μg/kg respectively were found in green mussel samples. However, no arsenic compounds were detected from plankton sample in this study. In addition, the amounts of arsenic compound found in this study were below the reference value from the relevant standards. It was indicated that the contamination of arsenic was no impact on human health and environment. Finally, the correlation between arsenic species in environmental media was proposed in this research. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_020.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น