กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4293
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสัณห์ไชญ์ เอื้อศิลป์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะดนตรีและการแสดงth
dc.date.accessioned2021-11-19T08:12:52Z
dc.date.available2021-11-19T08:12:52Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4293
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การเล่าเรื่องประวัติศาสตร์และโบราณคดีภาคตะวันออกผ่านการสร้างบทและการกำกับละครเพลงเรื่อง “เจ้าหญิงโคกพนมดี” มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อสร้างสรรค์บทละครและกำกับการแสดงรูปแบบละครเพลงจากประวัติศาสตร์โบราณคดีภาคตะวันออก และใช้กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะการละครเป็นเครื่องมือในการสร้างความตระหนักในจิตวิญญาณของชุมชนภาคตะวันออก โดยศึกษาข้อมูลด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีโคกพนมดีจากเอกสารวิชาการต่าง ๆ ลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อม ศึกษาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ แล้วนำมาสร้างบทสำหรับการแสดงในพิพิธภัณฑ์ ผู้วิจัยจึงนำข้อมูลต่าง ๆ มาเรียบเรียงและวิเคราะห์เพื่อนำมาพัฒนาบทละคร ผลการวิจัยพบว่าวิธีการสร้างบทละครจากข้อมูลประวัติศาสตร์ การดำเนินชีวิตและวัฒนธรรมสามารถนำมาสร้างบทและพัฒนาตัวละครเช่น ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์กระดูกที่ขุดค้นพบ ทำให้ทราบว่าตัวละครเจ้าแม่โคกพนมดีมีอายุ 35 ปี หลักฐานที่ปรากฏเกี่ยวกับเครื่องประดับและเครื่องใช้นำมาสร้างเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า และอุปกรณ์ประกอบการแสดง ผู้วิจัยใช้วิธีการถ่ายภาพนำมาเพื่อค้นหาลักษณะทางกายภาพของตัวละคร บทละครประกอบด้วย 3 ฉาก โดยมีแก่นของเรื่องคือ อนาคตที่ยั่งยืนมาจากรากที่แข็งแรง โดยมีตัวละครอภิวัฒน์เป็นตัวละครหลัก ตัวละครเจ้าแม่โคกพนมดีเป็นตัวละครปะทะ และมีตัวละครปันเป็นตัวละครสนับสนุน โดยผ่านการกากับการแสดงด้วยแนวคิดความจริงที่ไม่จริง ความไม่จริงที่จริงเพื่อเล่าเรื่องในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และโบราณคดีภาคตะวันออก หอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะดนตรีการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectละครเพลงth_TH
dc.subjectบทละครth_TH
dc.subjectสาขาปรัชญาth_TH
dc.titleการเล่าเรื่องประวัติศาสตร์และโบราณคดีภาคตะวันออกผ่านการสร้างบทและกำกับละครเพลงเรื่อง เจ้าหญิงโคกพนมดีth_TH
dc.title.alternativeThe Narrative of Eastern History and Archaeology through playwriting and directing: Princess Khok Phanom di The musicalen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsanchai@go.buu.ac.thth_TH
dc.year2559th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research entitled The Narrative of Eastern History and Archaeology through Playwriting and Directing: Princess Khok Phanom di the Musical, aimed to create play script as well as a theatre production from the original script of Eastern Thailand history and archaeology, which applied artistic creation procedure to raise awareness and spirit engagement of Eastern Thailand community. The qualitative research methods were conducted by in-depth interview and field trip, together with, historical and archeological documents of Khok Phanom di for composing play scripts to exhibit in the museum. The study found that play composition from historical, livelihood, and cultural records were enabled to compose play scripts and develop characters; such as an analysis of explored skeletons conveyed the Princess Khok Phanom di’s age, which was 35 years old. The evidence such as accessories and housewares were brought to costume design; meanwhile, make-up design and theatre props design were photographed to explore characters. Plays, moreover, were consisted of 3 scenes, whereby the theme was “sustainable future came from the robust roots”. 3 characters were designated; Apiwat as the leading character; Princess Khok Phanom di as the antagonist; and Pan as the supporting character. The concept of the play directing was “Untrue Truth” to narrate the story in the Museum of Eastern History and Archeology, Center of Arts and Culture, Burapha University.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_014.pdf14.87 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น