กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4282
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธัชชนก สัตยวินิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2021-09-22T08:53:34Z
dc.date.available2021-09-22T08:53:34Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4282
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทบทวนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่สีเขียวในจังหวัด นครนายกที่ผ่านมา และวิเคราะห์การเคลื่อนไหวเพื่อปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่สีเขียวใน จังหวัดนครนายก รวมถึงนำเสนอทางเลือกทางยุทธศาสตร์ใหม่ในการคงไว้ของพื้นที่สีเขียวให้เป็นแบบ ยั่งยืน โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพผ่านการศึกษากรณีเฉพาะของจังหวัดนครนายก ผลการศึกษา พบว่า ยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่สีเขียวที่สำคัญในจังหวัดนครนายก ประกอบด้วย นโยบายการ พัฒนาเมือง (นโยบายเมืองน่าอยู่ นโยบายเมืองใหม่ และนโยบายจังหวัดอัจฉริยะ) และการจัดการผัง เมือง โดยยุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่สีเขียวทั้งสองเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นจากการ กำหนดโดยรัฐส่วนกลางในลักษณะแบบบนลงล่าง จึงทำให้การพัฒนาและการบริหารจัดการพื้นที่สี เขียวในจังหวัดนครนายกที่ผ่านมา เกิดปัญหาการขาดการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในระดับพื้นที่ และปัญหาแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นที่ขาดความเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงในพื้นที่ การเคลื่อนไหวที่สำคัญของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เพื่อปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การ จัดการพื้นที่สีเขียวในจังหวัดนครนายก เกิดขึ้นในช่วงหลังผังเมืองรวมจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2555 โดยมีทิศทางการพัฒนาและการจัดการพื้นที่สีเขียวในจังหวัดนครนายกแบ่งอออกเป็น 2 แนวทาง สำคัญ ประกอบด้วย แนวการพัฒนาและกำหนดพื้นที่เพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและการ ขยายตัวของเมือง และแนวทางการพัฒนาบนฐานการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติของ จังหวัดด้วยการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวของจังหวัด ส่วนข้อเสนอเสนอทางเลือกทางยุทธศาสตร์ใหม่ในการคงไว้ของพื้นที่สีเขียวให้เป็นแบบยั่งยืน แบ่งออกเป็น ส่วนที่หนึ่ง ข้อเสนอจากพื้นที่ พบว่า ต้องมีการปรับปรุงกระบวนการในการกำหนด การ ดำเนินการ และการตรวจสอบที่เกี่ยวข้องกับแผนการพัฒนาและการจัดการผังเมือง ด้วยการเปิด โอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ และมีการคำนึงถึงการกลไกหรือระบบที่เข้ามา บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และส่วนที่สอง ข้อเสนอจากการพิจารณาเชิงทฤษฎี พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นภายใต้กระบวนการพัฒนา ต้องมีการแก้ไขด้วยการปรับเปลี่ยนค่านิยมและ แนวคิดในการพัฒนาร่วมกัน โดยควรมีการสร้างความร่วมมือเชิงสถาบันในรูปแบบใหม่ และสร้าง กลไกขึ้นมาจัดการเพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectชายฝั่งทะเลตะวันออก - - ไทยth_TH
dc.subjectโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกth_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleการทบทวนและปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกสู่การเป็นประเทศอาเซียนในจังหวัดนครนายก: กรณีการจัดการพื้นที่สีเขียวในบริบทอุตสาหกรรมth_TH
dc.title.alternativeReview and development strategy adjustment of Eastern Seaboard Development Program toward Asean Country in NakornNayok Province : the case of greenspace management in industrial contexten
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailthouchanok@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to review the management strategies in the past and analyses the movement to adjust the management strategies of green space in Nakorn Nayok Province including presents the new alternative strategies in order to remain the sustainable green space. Furthermore, the research is the qualitative research in the cases of Nakorn Nayok Province. The research results found that the important management strategies of green space in Nakorn Nayok Province consisted of the city development policies- the livable city policy, the new city policy, and the intelligent province policy as well as the urban planning managements. Both of the management strategies of green space were managed from the top to down by the central government. Therefore, the development and management of green space in the past confronted with lack of the local sectors participation and the local development did not properly resolve in the reality. However, there was the movement of stakeholders in the local area attempted to adjust the management strategies of green space in Nakorn Nayok Province after the urban planning 2012 declared the urban development. The direction of development and green space management in Nakorn Nayok Province were divided into two main aspects: (1) the direction of development and the setting of industrial development and extending of urban; (2) the direction of development based on the economic development which participated in province natural resource due to support ecotourism and green space management of province. Lastly, the new alternative strategies suggestion proposed to remain the sustainable green space within two aspects: firstly, the local suggestion found the government should adjust the formulation, the evaluation, and the inspection processes concerned with the development and urban planning. These processes should include people’s participation as well as consider the mechanism and processes of the sustainable natural resource management. Secondly, the theoretical proposition found that under the problematizations of development should resolve with changing the values and the concepts of development together. Finally, the resolution should contribute the cooperation of the new institutions and the mechanism to shape the sustainable development.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_003.pdf19 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น