กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4274
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นัยนา รัตนสุวรรณชาติ | |
dc.contributor.author | เขมมารี รักษ์ชูชีพ | |
dc.contributor.author | ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-07-04T07:55:18Z | |
dc.date.available | 2021-07-04T07:55:18Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4274 | |
dc.description.abstract | นวัตกรรมมีความหมายหลายอย่าง ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ (Quinn, 1992) นวัตกรรม คือ การสร้างหรือการประดิษฐ์ โดยใช้ทรัพยากร คือ คน เวลา เงิน ในการประดิษฐ์สินค้าใหม่ บริการใหม่ แนวความคิดใหม่, นวัตกรรม คือ สิ่งที่หล่อหลอมและการเรียนรู้ ให้ความสนใจไปยังการดึงเอาแนวคิดตัวสินค้าและบริการมาพัฒนาใหม่, นวัตกรรม คือ การเปลี่ยนแปลง บางสิ่งบางอย่างมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ในขณะที่บางสิ่งบางอย่างมีการเปลี่ยนแปลงอย่างถอนรากถอนโคน, นวัตกรรม คือ กระบวนการ เป็นกระบวนการของกิจกรรมที่นำไปสู่การผลิต ซึ่งเป็นขั้นตอนของแต่ละกิจกรรม, นวัตกรรม คือ บริบท (ระดับภูมิภาค ประเทศ) เป็นระดับของกระบวนการ นอกเหนือจากระดับของบุคคล ระดับขององค์การแล้ว ยังเป็นเรื่องของสถาบัน เครือข่ายทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การจัดการ | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาองค์การ | th_TH |
dc.subject | สาขาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | นวัตกรรมการจัดการ | th_TH |
dc.title.alternative | Innovation management | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 3 | th_TH |
dc.volume | 11 | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Indeed it is a subject that taxes the prowess of some of the most cap- able scholars and practitioners alike (Quinn, 1992) In looking at the multiplicity of meanings given to innovation it is possible to discern a number of characteristics: Innovation as creation (invention): The focus is on use of resources (people, time and money) to invent or develop a new product, service, new way of doing things, new way of thinking about things. , Innovation as diffusion and learning: The focus is on acquiring, supporting or using product, service or ideas. , Innovation as an event: The focus of attention here is on a discrete event, such as the development of a single product, service, idea or decision. , Innovation as a (stream of innovations) trajectory: This is recognition that a single act of innovation (as that in a discrete event) can facilitate a family of innovations to be derived from the original Source. , Innovation as change (incremental or radical): innovations enacts change. Some innovations are minor adjustments whilst other innovations are radical or discontinuous in nature. , Innovation as (firm-level) process: In this view innovation is not a single act, but a series of activities that are carried out by a firm to lead to the production of an outcome (namely, the innovation). , Innovation as a context (region, nation, etc.) level process: This view sees innovation as an act beyond the confines of an individual or firm. The view captures institutional frameworks, socio-political networks, and proximal factor endowments as factors in the act of innovation. The focus is switched from the firm to the peculiar endowments and characteristics of a specific context (region, nation, etc.). | en |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย | th_TH |
dc.page | 543-554. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
543-554.pdf | 323.92 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น