กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4248
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภูรีพัทธ์ อรรถเวชกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-23T07:23:15Z | |
dc.date.available | 2021-06-23T07:23:15Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4248 | |
dc.description.abstract | ในบรรดาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ทั้งหมดนั้น ประมาณร้อยละ 5 มีความรุนแรงในระดับผู้ป่วยวิกฤต ซึ่งปัญหาทางระบบการหายใจพบได้บ่อยที่สุด เบื้องต้นผู้ป่วยควรได้รับออกซิเจนเพื่อให้มีระดับ oxygen saturation 90-96% การใช้อุปกรณ์ high flow nasal cannula และ noninvasive ventilation ยังไม่มีหลักฐานว่าได้ประโยชน์ชัดเจน ในผู้ป่วยอาการหนักให้พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจแต่เนิ่นๆ การทำหัตถการที่เป็น aerosol generating procedureให้ทำเท่าที่จำเป็น เนื่องจากมีความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อ หากต้องทำให้ทำในสถานที่ที่เหมาะสม รวมถึงบุคลากรที่ร่วมทำหัตถการต้องป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัด ในผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ ให้การรักษาตามมาตรฐานแบบผู้ป่วย acute respiratory distress syndrome แต่อาจจะต้องเพิ่มความระมัดระวัง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเข้มงวด | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | th_TH |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) -- ผู้ป่วย -- การดูแล | th_TH |
dc.subject | การหายใจ | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การดูแลรักษาภาวะวิกฤตระบบการหายใจในโรคโควิด-19 | th_TH |
dc.title.alternative | Respiratory critical care in COVID-19 | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 7 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Among patients with coronavirus disease 2019 (COVID-19), up to 5% require intensive care unit (ICU) admission. Profound hypoxemic respiratory failure from acute respiratory distress syndrome (ARDS) is the dominant finding. Targeting a peripheral oxygen saturation between 90 and 96 percent is ideal. The use of high-flow oxygen via nasal cannulae (HFNC) and noninvasive ventilation (NIV) is controversial based on infection control concerns and the frequent need for mechanical ventilation despite these measures. Intubation should not be delayed until the patient acutely decompensates since this is potentially harmful to both the patient and healthcare workers. Aerosol generating procedures are high risk procedure for aerosol dispersion and attention should be paid to donning full personal protective equipment (PPE) with airborne precautions. Patients who are mechanically ventilated should received standard care per ARDS protocol with high caution regarding prevention of aerosol dispersion. | en |
dc.journal | บูรพาเวชสาร | th_TH |
dc.page | 134-139. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
med7n1p134-139.pdf | 145.53 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น