กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4243
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศิณัญญา ศรีเกตุ
dc.contributor.authorสมหมาย แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.authorดุสิต ขาวเหลือง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-23T06:24:21Z
dc.date.available2021-06-23T06:24:21Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4243
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหวเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 13 คน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ถึงเดือน เมษายน พ.ศ. 2562 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participation observation) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการเรียนรู้ของคนพิการทางการเคลื่อนไหว ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์และกำหนดความต้องการของตนเองเกิดจากความสนใจ วิเคราะห์ตนเอง และกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ 2) การวางแผนการเรียนรู้ ประกอบด้วย แผนการเรียนรู้ระยะสั้นเป็นตามความต้องการเรียนรู้ในช่วงเวลาหนึ่ง และแผนการเรียนรู้ระยะยาวที่กำหนดเป้าหมายชัดเจน 3) การแสวงหาแบบอย่างที่ดี เกิดจากความเชื่อมั่น ศรัทธา มี 3 ลักษณะ คือ แบบอย่างที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ แบบอย่างด้านพฤติกรรม และแบบอย่างที่สร้างแรงบันดาลใจ 4) การแสวงหาแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ศูนย์ฝึกอาชีพคนพิการ ผู้เชี่ยวชาญ และสารสนเทศออนไลน์ 5) การกำหนดวิธีการเรียนรู้ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ได้แก่ การเรียนรู้จากแบบอย่าง การทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง การสืบค้นข้อมูลจากหนังสือ สื่ออินเตอร์เน็ต และการแบ่งปันข้อมูลแบบรวมกลุ่ม 6) การประเมินผลการเรียนรู้จากความสำเร็จ ด้านการพึ่งพาตนเอง ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจด้านการมีส่วนร่วมทางสังคม 2. แนวทางการพัฒนาตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหว ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การรักษาและฟื้นฟูร่างกายจาก แพทย์ หรือหมอพื้นบ้าน พระสงฆ์ วิธีทางไสยศาสตร์ และการดูแลจากครอบครัว ญาติ พี่น้อง นักสังคมสงเคราะห์ 2) การมีทัศนคติเชิงบวก จากการยอมรับของครอบครัว การมีแบบอย่างที่ดี และได้เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม 3) การศึกษาที่เหมาะสมกับตนเอง สามารถเลือกและผสมผสานการศึกษาและนำความรู้มาใช้กับการพัฒนาตนเอง 4) การมีอาชีพที่มั่นคง สร้างรายได้จากการพัฒนาอาชีพที่ได้รับการสืบทอดจากครอบครัวและอาชีพที่ริเริ่มจากการเรียนรู้และฝึกทักษะใหม่th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคนพิการth_TH
dc.subjectการเรียนรู้th_TH
dc.subjectการพัฒนาตนเองth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหวth_TH
dc.title.alternativeLearning process towards self-development of persons with physical disabilityen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume15th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to investigate the learning process and self-development guidelines for persons with physical disability. The 13 key informants were selected by purposive sampling. Data were collected in February 2018 – April 2019 by in-depth interview and nonparticipation observation. Data analysis were conducted by contents analysis. The results of this research were as follows: 1. The learning process of persons with physical disability consists of 6 steps. 1) analysis and determination of self - needs due to personal interest and self-analysis 2) The learning plan consists of the short-term and long-term learning, 3) seeking for good model; as the transmitter of knowledge, the role model and inspiration model. 4) seeking for learning resources: training center, expert and information technology. 5) Selecting methods of learning to gain the knowledge, including; learning from the professional, self-test practice, information from books, social media and group data sharing, 6) Evaluation of learning from self-reliance success, the economic stability and social participation. 2. Self-development of the physical disability persons consists of 4 steps: 1) Treatment and rehabilitation of the body functions and structure from a doctor or folk therapists, the monks, mysticism, family care, relativeand social walker, 2) Providing positive attitude from family acceptance, having a good model and attending social activities 3) Individualized Education: select and mix methods of learning and apply knowledge to self-development. 4) Providing a stable career: creates income from the development of a career that has been inherited from the family and a profession initiated by learning and practicing new skills.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคมth_TH
dc.page34-46.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edusoc15n2p34-46.pdf642.05 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น