กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4236
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไวทยา ชมภูแสน | |
dc.contributor.author | เกษมสันต์ พานิชเจริญ | |
dc.contributor.author | จันทร์พร พรหมมาศ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-23T02:34:55Z | |
dc.date.available | 2021-06-23T02:34:55Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4236 | |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดการเรียนการสอนเชิงรุกต่อ ความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศบูรพา จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนการสอนสุขศึกษา และพลศึกษาเชิงรุกแบบทดสอบ ความสามารถในการแก้ปัญหาและแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอน สุขศึกษาและพลศึกษาเชิงรุกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนสุขศึกษาและพลศึกษาเชิงรุกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การเรียนแบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th_TH |
dc.subject | สุขศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา) | th_TH |
dc.subject | พลศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา) | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลของการจัดการเรียนการสอนเชิงรุกต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of active learning approach on problem solving ability and achievement in health education and physical education of grade 7 students | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 15 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi experimental research were to compare the effect of active learning approach on problem solving ability and achievement in health education and physical education of grade 7 students. The samples consisted of 31 students of grade 7 during academic year 2018 of Sarasas Witaed Burapha School, Chonburi by Cluster Random Sampling. The instrument of this research were active learning lesson plans, problem solving ability test and achievement test. The statistical analysis were mean, standard deviation and dependent sample t-test. The results of this research were as follow 1. The students’ problem solving ability of grade 7 learning by active learning approach in health education and physical education were statistically significant higher than the pretest at .05 level. 2. The students’ achievement of grade 7 learning by active learning approach in health education and physical education were statistically significant higher than the pretest at .05 level | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม | th_TH |
dc.page | 143-153. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
edusoc15n2p143-153.pdf | 730.34 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น