กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4223
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วีระนันท์ มนตรี | |
dc.contributor.author | สุเมธ งามกนก | |
dc.contributor.author | สมพงษ์ ปั้นหุ่น | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-22T04:01:58Z | |
dc.date.available | 2021-06-22T04:01:58Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4223 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยแรงจูงใจ การจัดโครงสร้างองค์การ การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร บรรยากาศองค์การ และวัฒนธรรมองค์การ ที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจ การจัดโครงสร้างองค์การ การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร บรรยากาศองค์การ และวัฒนธรรมองค์การ ที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 3) สร้างสมการพยากรณ์สมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา จากปัจจัยแรงจูงใจ การจัดโครงสร้างองค์การ การใช้เทคโนโลยีในการบริหาร บรรยากาศองค์การ และวัฒนธรรมองค์การ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง 0.513 - 0.960 และค่าความเชื่อมั่น .995 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (average) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณและสร้างสมการถดถอยเพื่อพยากรณ์ตัวแปรตัว โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ( Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรวมและรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 2. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับปานกลางถึงระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 มีเพียง 4 ปัจจัย คือ การจัดโครงสร้างองค์การ (X2) แรงจูงใจ (X1) บรรยากาศองค์การ (X4) และการใช้เทคโนโลยีในการบริหาร (X3) ร่วมกันทำนายตัวแปรตามได้ร้อยละ 64.70 (R2 = 0.647 ) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 โดยสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและรูปคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ Ŷ = 0.659 + 0.302(X2) + 0.242(X1) + 0.159(X4) + 0.136(X3) Z = 0.359(X2) + 0.239(X1) + 0.194(X4) + 0.182(X3) | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สมรรถนะ | th_TH |
dc.subject | การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affectiong the competencies of school administrators under Pathumthani Primary Education Service Area Office 2 | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 15 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was 1) to determine motivation, management structure of organizational, technology administration, organizational climate and organizational culture affecting the competencies of school administrators. 2) to determine relationships among motivation, management structure of organizational, technology administration, organizational climate and organizational culture affecting the competencies of school administrators. 3)to determine the factors that predicted the competencies of school administrators from motivation, management structure of organizational, technology administration , organizational climate and organizational culture. The sample was 127 teachers under pathumthani primary education service area office 2 during the academic year 2018.The research tool was a set of 5 rating scale questionnaires. The questionnaire discrimination were .513 - .960 and the reliability was .995. The statistics used in data analysis were mean ( X ) , standard deviation (SD), Pearson’s product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis. The results to that ; 1. factors affecting the competencies of school administrators under pathumthani primary education service area office 2. in overall and Each aspect were at a high level. 2. Relationships among factors affecting the competencies of school administrators under pathumthani primary education service area office 2. In overall had moderately level to high level positive relation with statistical significant at .01 level 3. Factors affecting the competencies of school administrators under pathumthani primary education service area office 2 composed of 4 factors that were explained the variane of competencies at 64.70 % (R 2 = .647) included management structure of organizational, motivation, organizational climate and technology administration .With statistic significant at .01 level, with could be able to create regression equation both with raw score and standard score as followings : Ŷ = 0.659 + 0.302(X2) + 0.242(X1) + 0.159(X4) + 0.136(X3) Z = 0.359(X2) + 0.239(X1) + 0.194(X4) + 0.182(X3) | en |
dc.journal | วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม | th_TH |
dc.page | 364-376. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
edusoc15n2p364-376.pdf | 828.16 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น