กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4220
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนุชจรี ลอยหา
dc.contributor.authorพักตร์วิภา โพธิ์ศรี
dc.contributor.authorอุทิศ บำรุงชีพ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สาขาการศึกษา
dc.date.accessioned2021-06-22T03:09:16Z
dc.date.available2021-06-22T03:09:16Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4220
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลบนฐานคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีรูปแบบการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method Research) โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิจัยเชิงสำรวจ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 จำนวน 368 คน และกลุ่มตัวอย่างสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกคือ ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลบนฐานคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 4 มิติ หรือ NUCH Dimensions ได้แก่ 1) N - Network for learning (การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี 2) U - Ubiquitous learning (การจัดสภาพแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง เพื่อพัฒนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม) 3) C - Critical thinking (การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อเสริมสร้างความมีเหตุมีผล) 4) H - HyFlex sharing (การแบ่งปันการเรียนรู้โดยมีความยืดหยุ่นและเหมาะสมกับบริบทสังคมตามหลักความพอประมาณ)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความฉลาดทางดิจิทัลth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลบนฐานความคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.title.alternativeEducational management guidelines for digital intelligence development based on sufficiency economyen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume15th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to propose educational management guidelines for digital intelligence development based on sufficiency economy for secondary students in the school under Pathum Thani primary educational service area office 2. The mixed-methods research design was adopted for this study. The sample survey were 368 the secondary students and 15 key informants for in- depth interview. The research instruments consisted of questionnaire, which contained fivelevels of ratting scales and in- depth interview questions. The data were a analyzed by using mean, standard deviation, and content analysis. Findings of the study were as follows: The educational management guidelines for digital intelligence development based on sufficiency economy consisted of 4 dimensions ( NUCH Dimensions) : 1) N - Network for learning (network for learning to enhance good immunity) 2) U - Ubiquitous learning (ubiquitous learning for the development of knowledge and morality) 3) C - Critical thinking (the development of critical thinking skill to enhance reasonable) 4) H - HyFlex sharing ( HyFlex sharing based on moderate and social context).en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคมth_TH
dc.page410-420.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edusoc15n2p410-420.pdf624.97 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น