กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4196
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธีรนันท์ นงค์นวล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-17T08:02:44Z | |
dc.date.available | 2021-06-17T08:02:44Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4196 | |
dc.description.abstract | การเลือกตั้งระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อถูกใช้อย่างกว้างขวางภายใต้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีวิธีการจัดสรรแตกต่างกันหลายวิธี งานวิจัยนี้เสนอวิธีออพติมัลโควตา มีข้อกำหนดว่าผู้ได้รับการเลือกตั้งต้องมีค่าเฉลี่ยคะแนนเสียงเลือกตั้งต่อที่นั่งเท่ากันทั้งหมด โดยผู้สมัครรับเลือกตั้งที่มีคะแนนเสียงน้อยกว่าค่าเฉลี่ยนี้จะไม่ได้รับการเลือกตั้ง ผลการจัดสรรที่นั่งด้วยข้อมูลจากการจำลองแบบทางคอมพิวเตอร์ และข้อมูลดิบในการจัดสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อในการเลือกตั้งปีพุทธศักราช 2562 นั้น แสดงว่า วิธีแฮร์นีเมเยอร์-แฮร์โควตาซึ่งเป็นวิธีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งใช้ในการคำนวณ ให้ผลการจัดสรรแก่พรรคเล็กมีความได้เปรียบสูงที่สุด โดยมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกับวิธีเวปสเตอร์และวิธีแฮร์นีเมเยอร์-ดรูปโควตา ส่วนวิธีออพติมัลโควตาให้ผลเหมือนกันกับวิธีดี’ฮอนดท์ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุดทั่วโลก ทั้งสองวิธีจะไม่เกิดการได้เปรียบของพรรคเล็ก และมีแนวโน้มให้พรรคกลางและพรรคใหญ่ได้เปรียบเพียงเล็กน้อย ถึงแม้ว่าผลทางสถิติจะแสดงความแตกต่างของแต่ละวิธี การเลือกวิธีการคำนวณการจัดสรรการเลือกตั้งแบบสัดส่วนยังขึ้นอยู่กับการยอมรับของประชาชนและบริบททางสังคมของแต่ละประเทศ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยับูรพา | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -- การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | การคำนวณเชิงตัวเลข | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.title | วิธีการจัดสรรด้วยการหาโควตาเหมาะสมสำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อให้มีคะแนนเสียงต่อที่นั่งเท่ากัน | th_TH |
dc.title.alternative | An allocation method using quota optimization for the election of party-list proportional representatives with equal votes per seat | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 25 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Party-list proportional representation, the most common electoral system under the democracy, can be processed by using various allocation methods. Optimal quota method was proposed in this work based on a simple rule that all representatives must be elected with exactly equal votes per seat. Popular votes were obtained by using computer simulations and from the 2019 Thai general election. It was found that the Hare-Niemeyer with Hare quota used by the election commission of Thailand tends to increase the largest advantage to small parties. The Webster and the Hare-Niemeyer with Droop quota also slightly favor small parties. While the D’Hondt and the optimal quota yield equivalent seats with no advantage to small parties but with an insignificantly favor to medium and large parties. Although there is a statistical difference between these methods, choosing an allotment method should rely on social context thus it would be accepted nationwide | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal | th_TH |
dc.page | 578-594. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
578-594.pdf | 21.81 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น