กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4192
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เบญญาพร ใจเสน | |
dc.contributor.author | เชวง ซ้อนบุญ | |
dc.contributor.author | สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ | |
dc.contributor.author | ปานเพชร ร่มไทร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-17T07:21:25Z | |
dc.date.available | 2021-06-17T07:21:25Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4192 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งความร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมความร่วมมือก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 3) เปรียบเทียบความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดาราสมุทร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียน 54 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งความร่วมมือ 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสังเกตพฤติกรรมความร่วมมือ และ 4) แบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมความร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งความร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งความร่วมมือสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | สังคมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การทำงานกลุ่มในการศึกษา | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บันไดแห่งความร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of cooperative learning activities on social study religion and culture learning area prathomsuksa five students | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 1 | th_TH |
dc.volume | 2 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were; 1) to compare the achievements before and after the cooperative learning activities focused on social studies religion and cultural learning in Prathomsuksa five, 2) to compare cooperative behaviour before and after the cooperative learning activities focused on social studies religion and cultural learning in Prathomsuksa five, and 3) to compare analytical thinking before and after the cooperative learning activities focused on social studies religion and cultural learning in Prathomsuksa five. The sample group used in this study was a group of 54 Prathomsuksa five students at Darasamutr Srisacha Chonburi School in the second semester, 2019 by using cluster random Sampling. The tools used in this study were; 1) the lesson plans of cooperative learning activities, 2 ) a learning achievement test, 3) an observation form of cooperative behaviour, and 4) an analytical thinking test. The statistics used were mean, standard deviation and t-test. The results of the study were as follows; 1) The achievement of Prathomsuksa five students after studying with the cooperative learning activities was higher than before studying at a statistical significance level of .05, 2) Cooperative behaviour of Prathomsuksa five students after studying with the cooperative learning activities was higher than before studying at a statistical significance level of .05, and 3) Analytical thinking ability of Prathomsuksa 5 students after doing the cooperative learning activities was higher than before studying at a statistical significance level of .05. | en |
dc.journal | e-Journal of Education Studies, Burapha University | th_TH |
dc.page | 33-46. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
ejes2n1p33-46.pdf | 436.35 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น