กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4165
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุพจน์ บุญวิเศษ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-15T09:03:39Z
dc.date.available2021-06-15T09:03:39Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4165
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นและเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของประชาชนต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริการสาธารณะของเทศบาลเมืองในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพกลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ของเทศบาลเมืองในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ 1) เทศบาลเมืองชลบุรี 2) เทศบาลเมืองบ้านสวน 3) เทศบาลเมืองแสนสุข และ 4) เทศบาลเมืองอ่างศิลา รวมทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ t-test และ One-way ANOVA กรณีพบความแตกต่างจะวิเคราะห์คู่ที่แตกต่างโดยใช้สถิติ Scheffe’ ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริการสาธารณะของเทศบาลเมืองในพื้นที่อำเภอเมือง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค และด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตคู่เศรษฐกิจพอเพียง และด้านการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ2) ประชาชนที่มีเพศแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริการสาธารณะของเทศบาลเมืองไม่แตกต่างกันส่วนประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริการสาธารณะของเทศบาลเมืองในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรีแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectบริการสาธารณะ -- ไทย -- ชลบุรีth_TH
dc.subjectการสร้างสรรค์th_TH
dc.subjectเทศบาลth_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleการสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริการสาธารณะของเทศบาลเมือง ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe creation of the public service innovation of municipalities in Mueang district Chonburi provinceen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume9th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research was to study the level of public opinion and compare the public opinion on the creation of the public service innovation of municipalities in Mueang district, Chonburi Province, classified by gender, age, education and occupation. The sample group used in the research was the people who lived in the area of 4 municipalities in Mueang district, Chonburi Province, such as: 1) Mueang Chonburi Municipality; 2) Ban Suan Municipality; 3) Saen Suk Municipality; and 4) Ang Sila Municipality, a total of 400 people. The research instruments were questionnaires. Statistics which used in research, such as: frequency, percentage, mean and standard deviation and hypothesis testing used t-test and One-way ANOVA, if differences found and different pairs analyzed by Scheffe.The research found that: 1) Public opinion on the creation of the public service innovation of municipalities in Mueang district, Chonburi Province in overall was at a high level, especially in the development of infrastructure and utilities aspect, the development of quality of life along with the sufficiency economy aspect, the management according to the principles of good governance aspect, respectively. 2) People who had different gender, there was no different opinion on the creation of the public service innovation of municipalities, but people who had different age, education and occupation, there was different significantly opinion on creation of the public service innovation of municipalities in Mueang district, Chonburi Province, at the level of .05.en
dc.journalวารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมืองth_TH
dc.page84-108.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
84-108.pdf720.01 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น