กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4162
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | Paratchanun Charoenarpornwattana | |
dc.contributor.author | ปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-15T08:39:13Z | |
dc.date.available | 2021-06-15T08:39:13Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4162 | |
dc.description.abstract | ประเทศไทยลงทุนกับระบบการศึกษาและการฝึกอบรมเป็นอย่างมาก แต่คุณภาพการศึกษากลับไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ประเทศไทยควรมุ่งเน้นและให้ความสำคัญกับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชน การปฏิบัติการฝึกอบรมเป็นการปฏิบัติด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของโรงเรียนเอกชน เพื่อช่วยในการพัฒนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ ทัศนคติ ของครูและโรงเรียนเอกชน เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานของโรงเรียนเอกชนและเพื่อสร้างคุณภาพการศึกษาด้วยครูที่มีคุณภาพ ดังนั้นโรงเรียนเอกชนต้องเตรียมพร้อมครู เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินที่เหมาะสมในการพัฒนาผู้เรียน วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้กลยุทธ์การวิจัยด้านพหุกรณีศึกษานี้ คือ เพื่อศึกษาแนวปฏิบัติด้านการฝึกอบรมของโรงเรียนเอกชนในเขตเมืองพัทยา วิธีการ เก็บข้อมูลที่ใช้ คือ การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างการบันทึกเสียง และการใช้เอกสารอ้างอิง โดยเก็บข้อมูลกับผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ หัวหน้าแผนกและเจ้าหน้าที่ จำนวน 22 คน ที่ทำงานในโรงเรียนเอกชนในเขตเมืองพัทยา จำนวน 5 แห่ง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ข้ามกรณีศึกษาผลการวิจัย พบว่า แนวปฏิบัติด้านการฝึกอบรมของโรงเรียนเอกชนในเขตเมืองพัทยา ประกอบด้วย 14 แนวคิดหลัก คือ 1) การประเมินความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรม, 2) วิธีการขออนุมัติการเข้าร่วมการฝึกอบรม, 3) วิธีการฝึกอบรม, 4) วิทยากรฝึกอบรม, 5) ผู้เข้าฝึกอบรม, 6) เอกสารประกอบการฝึกอบรม, 7) ช่วงเวลาในการฝึกอบรม, 8) สถานที่ ฝึกอบรม, 9) งบประมาณในการฝึกอบรม, 10) หลักสูตรและกิจกรรมการฝึกอบรม, 11) การให้การสนับสนุนการ ตรวจสอบ และการดูแลช่วยเหลือ, 12) การประเมิน การให้ข้อเสนอแนะและการติดตามผล, 13) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการปฏิบัติการฝึกอบรม, และ 14) ผลลัพธ์และประโยชน์ในการฝึกอบรม นอกจากนี้แนวปฏิบัติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | Teachers -- Training of | th_TH |
dc.subject | Private schools -- Personnel management | th_TH |
dc.subject | Personnel management | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | Cross-case analysis of managing school performance in private schools in Pattaya City through training practices: A multiple case studies approach | en |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์ข้ามกรณีศึกษาในการจัดการผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนเอกชนในเขตเมืองพัทยาด้วยการปฏิบัติการฝึกอบรม: การศึกษาแบบพหุกรณีศึกษา | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 31 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Thailand’s education system has invested more money in education and training to improve the national education quality; however, it has not resulted in the country’s educational goals. Thailand needs to give greater and more serious attention to the quality of private school performances. Training practices can be used as an effective human resource development practice in private schools, and to develop teachers to increase their knowledge, skills, abilities, and attitude. In addition, it can help teachers and schools achieve success in the operation of the school. Private schools need to conduct training practices to ensure the school’s quality with skilled teachers. Therefore, there must be preparation for teachers to be able to develop learning activities and assessments for the students’ development. The objective of this qualitative study is to study the training practices of private schools in Pattaya City, using a multiple case studies strategy. Data will be collected through semi-structured interviews, audio visuals and document reviews with 22 participants serving as School License Holder, School Principal, Vice School Principal, Assistant School Principal, Head of Department, and Officer who work at 5 private schools in Pattaya City. Data analysis in this study using cross-case analysis. There were 14 themes about training practices that emerged from the study: 1) Training needs assessment, 2) Requesting training program attendance, 3) Training methods, 4) Trainer, 5) Trainees, 6) Training materials, 7) Training period, 8) Training venue, 9) Training budget, 10) Training courses and activities, 11) Supporting, monitoring, and supervising, 12) Evaluation, feedback, and follow-up, 13) Involving parties in making decisions about training practices, and 14) Outcomes and benefits from the training practices. Finally, training practices which focus on other aspects in developing new training practices were made for future practices and research. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.page | 71-106. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
edu31n2p71-106.pdf | 221.24 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น