กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4137
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พัชระ ภูติวณิชย์ | |
dc.contributor.author | สถาพร พฤฑฒิกุล | |
dc.contributor.author | ภารดี อนันต์นาวี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-06-14T07:16:18Z | |
dc.date.available | 2021-06-14T07:16:18Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4137 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรดนตรี สู่ความเป็นเลิศของนักเรียนโรงเรียนพัชระมิวสิค อะคาเดมี ศรีราชา โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และศึกษาผลจากการพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรดนตรี สู่ความเป็นเลิศของนักเรียน โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นครูและนักเรียนเปียโนของโรงเรียนจำนวน 29 คน เครื่องมือ วิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกการประชุม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินสภาพการดำเนินงานแบบสังเกต แบบบันทึกผลการดำเนินงาน และแบบบันทึกการประชุมกลุ่มย่อย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบการบริหารหลักสูตรดนตรี สู่ความเป็นเลิศ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งมีลักษณะเป็นวงจร 2 รอบ รวม 10 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การเตรียมการ (preparation) 2. การวางแผน (Planning) 3. การปฏิบัติ (Acting) 4. การสังเกต (Observing) 5. การสะท้อนผล (Reflecting) 6. การวางแผนใหม่ (Re-Planning) 7. การปฏิบัติใหม่ (Re-Acting) 8. การสังเกตผลใหม่ (Re-Observing) 9. การสะท้อนผลใหม่ (Re-Reflecting) 10. การสรุปผล (Conclusion) และการใช้บทบาทของผู้วิจัยตามแนวทางการวิจัยแบบมีส่วนร่วม ส่งผลให้โรงเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลง เกิดองค์ความรู้และเรียนรู้ร่วมกัน และจากการประเมินผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรดนตรี สู่ความเป็นเลิศ พบว่าผู้เรียนมีการพัฒนาระดับความสามารถ มีทักษะ กล้าที่จะแสดงออก และกระตือรือร้นต่อการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ดนตรี -- หลักสูตร | th_TH |
dc.subject | ดนตรี -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรดนตรีสู่ความเป็นเลิศของนักเรียนโรงเรียนพัชระมิวสิค อะคาเดมี ศรีราชา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ชลบุรี เขต 3 โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.title.alternative | A model development of the excellent music curriculum management of Patchara Music Academy Sriracha School under The Chonburi Primary Educational Area Office 3 by participatory action research | en |
dc.type | Article | th_TH |
dc.issue | 2 | th_TH |
dc.volume | 6 | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to 1) develop the music curriculum management modelfor excellent students through participation action research. 2) study the results of the development within the music curriculum management model for excellent students through participatory action research. The participants are 29 piano teachers and piano students who studied at Patchara Music Academy Sriracha School. The research instruments included a meeting record form, an interview question protocol, a procedure assessment form, an observation form, a procedure record form, and a focused group protocol. The data was analyzed with standard deviation and content analysis. The research results show the following findings. Development of the music curriculum management model for excellent students through participatory action research had 2 cycles and 10 steps. As followed; (1) Preparation (2) Planning (3) Acting (4) Observing (5) Reflecting (6) Re-Planning (7) Re-Acting (8) Re-Observing (9) Re-Reflecting, and (10) Conclusion. With the researcher role in participatory action research, an effect on both the school and the teachers who participated in the research, gained development, received an increase in new information, and the experience of learning together. Furthermore, the results of the assessment regarding the development of excellence in the music curriculum management by participatory action research found that, students were able to increase their music skills, performance and techniques. Moreover, the students have more confidence. | en |
dc.journal | วารสารดนตรีและการแสดง | th_TH |
dc.page | 52-64. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
mupa6n2p52-64.pdf | 565.59 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น