กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4107
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจตุภัทร เมฆพายัพ
dc.contributor.authorกิดาการ สายธนู
dc.contributor.authorพจนา พจนวิชัยกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-05-28T02:16:51Z
dc.date.available2021-05-28T02:16:51Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4107
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิดด้วยวิธีบอกซ์-เจนกินส์ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากสำนักระบาดวิทยา ซึ่งเก็บรวบรวมจำนวนผู้ป่วยโรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิดตั้งแต่เดือนพฤษภาคมปี พ.ศ. 2551 จนถึงเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2561 เพื่อสร้างตัวแบบพยากรณ์จากนั้นทำการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิดของเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ. 2561 และเมษายนปี พ.ศ. 2562 สำหรับการตรวจสอบความแม่นของการพยากรณ์จะใช้รากที่สองของค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย ค่าคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย ค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยทำให้เป็นบรรทัดฐาน และค่าปัจจัยสอง ผลการวิจัยพบว่าได้ตัวแบบพยากรณ์ด้วยวิธีบอกซ์-เจนกินส์ที่ไม่มีค่าคงตัวทั้งหมด 5 ตัวแบบ ได้แก่ ARIMA(1,0,1)x(2,1,1)12 ARIMA(0,1,1)x(2,1,1)12 ARIMA(1,0,1)x(1,1,1)12 ARIMA(1,0,1)x(1,0,2)12 และ ARIMA(0,1,1)x(1,0,2)12 ตัวแบบพยากรณ์ด้วยวิธีบอกซ์-เจนกินส์ ที่ไม่มีค่าคงตัวที่เหมาะสมที่สุดสำหรับพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิด คือ ARIMA(1,0,1)x(2,1,1)12 โดยมีค่ารากที่สองของค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยเท่ากับ 2.8997 ค่าคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยเท่ากับ 1.8734 ค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยทำให้เป็นบรรทัดฐานเท่ากับ 0.1282 และค่าปัจจัยสองเท่ากับ 0.9630th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectบาดทะยักth_TH
dc.subjectบาดทะยักในทารกแรกเกิดth_TH
dc.subjectพยากรณ์แบบบอกซ์-เจนกินส์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยโรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิดด้วยวิธีบอกซ์-เจนกินส์th_TH
dc.title.alternativeForecasting of the number of patients for tetanus and tetanus neonatorum with Box-Jenkins Methoden
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume25th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to forecast the number of patients for Tetanus and Tetanus Neonatorum with Box-Jenkins method using secondary data from the Bureau of Epidemiology, Department of Disease Control. The number of patients for Tetanus and Tetanus Neonatorum were collected since May, 2008 to April, 2018 to generate forecasting model then predict the number of patients for Tetanus and Tetanus Neonatorum from May, 2018 to April, 2019. The accuracy of forecasting was monitored by root mean squared error (RMSE), mean absolute error (MAE), normalized mean square error (NMSE) and factor of two (FA2 ). The research results revealed that 5 models from Box-Jenkins method with no constant are built; ARIMA(1,0,1)x(2,1,1)12, ARIMA(0,1,1)x(2,1,1)12, ARIMA(1,0,1)x(1,1,1)12, ARIMA(1,0,1)x(1,0,2)12 and ARIMA(0,1,1)x(1,0,2)12. The most appropriate model from BoxJenkins method with no constant for forecasting the number of patients of Tetanus and Tetanus Neonatorum is ARIMA(1,0,1)x(2,1,1)12 with RMSE of 2.8997, MAE of 1.8734 and NMSE of 0.1282 and FA2 of 0.9630.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journalth_TH
dc.page936-952.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
936-952.pdf916.54 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น