กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/407
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์th
dc.contributor.authorดวงชีวัน พึ่งสุรินทร์th
dc.contributor.authorกาญจนา หริ่มเพ็งth
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัยth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:34Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:34Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/407
dc.description.abstractโครงการวิจัยเรื่อง "การพัฒนายาสังเคราะห์ชนิดใหม่ในการฆ่าเชื้อ Methicillin - resistant Staphylococcus aureus (MRSA) ที่ระบาดในจังหวัดชลบุรีและฉะเชิงเทรา" ในปีที่ 1 ของการวิจัยได้ศึกษาการระบาดวิทยา ความไวต่อยาด้านจุลชีพ และการสร้างเอนไซม์เบต้า-แลคตาเมสของ S. aureus ซึ่งประกอบด้วย Methicillin - susceptible Staphylococcus aureus (MRSA) จำนวน 400 ไอโซเลต จาก 3 โรงพยาบาล คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โรงพยาบาลชลบุรี จังหวัดชลบุรี และโรงพยาบาลฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ในช่วงเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2550 ผลการศึกษาปรากฎว่าการระบาดของ MSSA ในทั้ง 3 โรงพยาบาลมีปริมาณการระบาดสูงกว่า MRSA ซึ่งการระบาดของ MSSA และ MRSA ณ โรงพยาบาลชลบุรี (55.32% และ 45.68%) โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา (62.75% และ 37.25%) และโรงพยาบาลฉะเชิงเทรา (70.81% และ 29.19%) โดยสิ่งส่งตรวจประเภทปัสสาวะตรวจพบ MRSA มากที่สุด (85.71%) ในขณะที่สิ่งส่วตรวจประเภทเลือด หนองอละเสมหะตรวจพบ MRSA ใกล้เคียงกัน (36.26% - 39.46%) และสูงกว่าสิ่งส่งตรวจประเภทอื่น เมื่อทดสอบความไวของ MSSA และ MRSA ต่อยาด้านจุลชีพ 14 ชนิด ได้แก่ ยากลุ่มเบต้า-แลคแตมจะนวน 7 ชนิด และยากลุ่มอื่นจำนวน 7 ชนิด ผลการศึกษาพบว่า MSSA ไวต่อยาต้านจุลชีพทั้ง 2 กลุ่มทีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ในปริมาณสูง (90.00-100%) ยกเว้นดื้อต่อยาในกลุ่มเบต้า-แลคแตมจำนวน 2 ชนิด คือ Penicillin G (96.00%) และ Ampicillin (90.80%) และยากลุ่มอื่นคือ Gentamicin (78.80%) ในขณะที่ MRSA ดื้อต่อยาทั้ง 2 กลุ่มโดยดื้อต่อยากลุ่มเบต้า-แลคแตมในปริมาณสูงถึง 97.33-100.00% และยากลุ่มอื่นทุกชนิดที่นำมาศึกษาในครั้งนี้ในปริมาณสูงเช่นกัน (81.34-97.33%) ยกเว้นไวต่อยา Vancomycin (100.00%) และ Chloramphenicol (94.00%) เมื่อทดสอบการผลิตเอนไซม์เบต้า-แลคตาเมสของ MRSA ที่แยกได้จากโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง พบว่าแบคทีเรียกลุ่มนี้ผลิตเอนไซม์เบต้า-แลคตาเมสจำนวน 92.00% ทำให้สามารถสรุปได้ว่ากลไกการดื้อยาในกลุ่มเบต้า-แลคแตมของ MRSA ในการศึกษานี้น่าจะเกิดจากการผลิตเอิมไซม์เบต้า-แลคตาแมส ซึ่งจาการผลการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ต้องตระหนักถึงการรักษาโรคติดเชื้อในกลุ่ม S.aureus เพราะถ้า S.aureus เหล่านี้เป็นกลุ่ม MRSA จะทำให้การรักษาโรคยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้นและทำให้เกิดอัตราเสี่ยงต่อผู้ป่วยที่ติดเชื้อดังกล่าว. In this research entitled "Development of novel synthetic compound against methicillin - susceptible Staphylococcus aureus (MSSA) and methicillin - resistant Staphylococcus aureus (MRSA) occurred in Chon Buri and Chacheongsao Provinces" in the first year of work, epidemiology, antimicrobial sensitivity and beta-lactamase production of 400 isolates of MSSA and MRSA collected from Chon Buri Hospital and Queen Sawangwatana Memorial Hospital, Chonburi Province, as well as Chachgongsao Hospital, Chacheongsao Province from January to December 1997 were investigated.Results showed that epidemiological occurrences of MSSA was higher than its in MRSA in three hospitals. The percentage of MSSA and MRSA prevalences in Chon Buri Hospital was 55.32% and 45.68% and Queen Sawangwattana Memorial Hospital (62.75% and 37.25%), Chonburi Province, as well as Chacheongsao Hospical (70.81% and 29.19%),Chacheongsao. MSSA was found highest in urine samples (36.26%-39.46%). Antimicrobial sensitivity of MSSA and MRSA to 14 antimicrobial agents (7 types of beta-lactem antimicrobial agents and 7 types of the other antimicrobial agents) was established. Results suggested that MSSA was highly sensitive to both two tested group of antimicrobial agents (90.00-100%), except they were resistant to two types of beta-lactem antimicrobial agent (Penicillin G, 96.00% and Ampicillin, 90.80%) and the other types of antimicrobial agent (Gentamicin,78.80%). In contrast, MRSA resisted to both two types of antimicrobial agents. They resisted to beta-lactam antimicrobial agents for 97.33-100.00% and the other type of antimcrobial agnts for 81.34-97.33%, except they were sensitive to Vancomycin (100.00%) and Chloramphenicol (94.00%). In the next step, bata lactamase production of MRSA collected from 3 hospitals were recorded for 92.00%. Results concluded that beta-lactamase production was the major mechanism for MRSA resistance to beta-lactem antimicrobial agents in this study. As a consequence, treatment of S.aureus disease should be aware because MRSA caused the treatment to be more complicated as well as the higher risk of patients who had those diseases.th_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการพัฒนายาth_TH
dc.subjectยากำจัดเชื้อแบคทีเรียth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการพัฒนายาสังเคราะห์ชนิดใหม่ในการฆ่าเชื้อ Methicillin resistant staphylococcus aureus (MRSA) ที่ระบาดในจังหวัดชลบุรีและฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of novel synthetic compound against methicillin resistant staphylococcus aureus occurred in Chon Buri and Chacheongsao Provincesen
dc.typeResearch
dc.year2553
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น