กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4072
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกรองจันทร์ รัตนประดิษฐ์
dc.contributor.authorสมจิตต์ ปาละกาศ
dc.contributor.authorปราณี นิมิตบุตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-05-16T09:57:23Z
dc.date.available2021-05-16T09:57:23Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4072
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของสารอาหารต่อการผลิตพอลิไฮดรอกซีอับคาโนเอตจากเชื้อแบคทีเรีย Alcaligenes latus ที่ผ่านการกลายซ้้า โดยการได้รับ 2 AA และ Acrifavin ตามล้าดับ เปรียบเทียบกับเชื้อดั้งเดิม ผลการศึกษาพบว่า การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส และที่อัตราการเขย่า 150 รอบต่อนาที ด้วยสารอาหารที่ใช้น้ำมันถั่วเหลืองความเข้มข้น 40 กรัมต่อลิตร เป็นแหล่งคาร์บอนทดแทน น้้าตาลฟรุกโตสร่วมกับการใช้ผงชูรสความเข้มข้น 0.5 กรัมต่อลิตร เป็นแหล่งไนโตรเจนทดแทนแอมโมเนียมคลอไรค์และแอมโมเนียมซับเฟต สามารถผลิตพลาสติกพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตได้สูงที่สุดเท่ากับ 2.63 กรัมต่อลิตร คิดเป็นร้อยละ 75.79 โดยมีมวลเซลล์แห้งเท่ากับ 3.47 กรัมต่อลิตร ซึ่งให้ค่าสูงกว่าการเลี้ยงในแหล่งไนโตรเจนทดแทนที่ประกอบด้วยแอมโมเนียมคลอไรค์ต่อผงชูรสในอัตราส่วน 0.25 : 2 กรัมต่อลิตร สามารถผลิตพลาสติกพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตได้เท่ากับ 2.43 กรัมต่อลิตร คิดเป็นร้อยละ 52.83 ของน้ำหนักมวลเซลล์แห้ง แต่สามารถผลิตมวลเซลล์แห้งสูงสุด 4.60 กรัมต่อลิตรth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพลาสติก -- การผลิตth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการเพิ่มศักยภาพการผลิตพลาสติกชีวภาพกลุ่มพอลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอตในรูปโฮโมพอลิเมอร์และโคพอลิเมอร์จากแบคทีเรีย Alcaligenes latus ที่คัดเลือกจากการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailkrongchan@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpranee_ni@rmutto.ac.thth_TH
dc.year2559th_TH
dc.description.abstractalternativeThis work aimed to explore the optimum nutrient conditions for poly-β-hydroxybutyrate (PHB) production by wild type Alcaligenes latus TISTR 1403 and its mutaned derived from exposed successfully with 2 AA and Acrifavin. The results revealed that cultured at 30 C on shaker at 150 rpm in modified medium contrained 40 g/L of soybean oil as carbon source instead of fructose and 0.5 g/L of monosofium glutamate as nitrogen source instead of ammonium chioride and ammonium sulfate produced maximum polyhydroxyalcanoates to 2.63 g/L or 75.79 % of cell dry weight (3.47 g/L). This production rate was also higher than the culturing of this strain in medium contrained ammonium chloride and monosodium glutamate (02.25 : 2 g/L) that produced 2.43 g/L of polyhydroxyalcanoates or 52.83 % of cell dry weight Z4.60 g/L)en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_247.pdf1.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น