กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/406
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัยth
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์th
dc.contributor.authorกุลยา ลิ้มรุ่งเรืองกุลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:34Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:34Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/406
dc.description.abstractในปัจจุบันการเลี้ยงกุ้งกุลาดำได้มีการเลี้ยงอย่างกว้างขวางและมีการปล่อยน้ำทิ้งจากฟาร์มกุ้งในปริมาณที่มากลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติซึ่งจำเป็นที่จะต้องมีการบำบัดน้ำทิ้งเหล่านั้นก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อต้องการทราบแนวทางการใช้พืชน้ำเศรษฐกิจที่พบทั่วไปในการบำบัดน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ ผักบุ้ง ผักกระเฉดและกระจับได้นำมาใช้ในการบำบัดน้ำทิ้งเนื่องจากราคาถูก โยทำการใส่พืชน้ำเหล่านี้ในปริมาณ 300 กรัมลงไปในบ่อทดลองขนาด 100 ลิตร ที่มีดินและน้ำจากบ่อเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำและทดลองเป็นเวลา 28 วัน ผลการทดลองพบว่ากระจับมีประสิทธิภาพสูงสุดใฝนการลดปริมาณ BOD, ความขุ่น, แอมโมเนีย,ไนไทรต์,ไนเตรต และฟอสเฟตมีค่า 90%, 91.7%, 67.9%, 53.2%, 98% และ 70.5 % ตามลำดับ นอกจากนี้กระจับมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดีกว่าผักบุ้งและผักกะเฉด อย่างไรก็ตามพืชน้ำทั้ง 3 ชนิดช่วยทำให้คุณภาพน้ำดีกว่าบ่อควบคุมที่ไม่ใส่พืชน้ำโยฉพาะค่าพีเอช ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนน้ำและอุณหภูมิ งานวิจับยนี้แสดงให้เห็นว่ากระจับเป็นพืชน้พที่เหมาะสมที่สุดในการนำมาบำบัดน้ำทิ้งจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำเนื่องจากประสิทธิภาพการบำบัดสูงและเป็นพืชน้ำเศรษฐกิจที่มีราคาสูงth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการบำบัดโดยพืชth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - วิจัยth_TH
dc.subjectน้ำเสีย - - การบำบัดth_TH
dc.subjectบ่อเลี้ยงกุ้งth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้พืชน้ำในการจัดการน้ำเสียในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำth_TH
dc.title.alternativeApplication of aquatic plants on thed waste management in the black tiger shrimp ponden
dc.typeงานวิจัย
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeRecently, black tiger shrimp farming in Thailand have expanded and generated large amount of farm effluents on the natural water. The present study aimed to investigate the use of commonly found economic aquatic plants for treatment of shrimp culture effluents. Ipomoea aquatic (Morningglory), Neptuniaoleracea (Water mimosa) and Trapabispinosa (Water chestnut) were chosen for treatment released from black tiger shrimp pond culture due to low cost of treatment. Three aquatic plants were added at the density of 300 g in the experiment tank of 100 L containing water and pond soil collected from shrimp farms. Three experiments were carried out within 28 days. Results showed that T. bispinosa had the highest efficiency on removal of BOD, turbidity, ammonia, nitrite, , nitrite and phosphate, showing average value of 90%, 91.7%, 67.9%, 53.2%, 98% and 70.5 % .respectively. In addition, T.bispinosa showed the highest growth rate in the experiment, compared to the other two aquatic plants. All types of aquatic plants resulted in better water quality parameters (pH, dissolved oxygen and temperature) of treatment for wastewater releasing from shrimp pond due to their effectiveness on bioremediation and high value of economic aquatic plant.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น