กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4068
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชนากานต์ ลักษณะ | |
dc.contributor.author | สนธิชัย จันทร์เปรม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร | |
dc.date.accessioned | 2021-05-07T15:26:19Z | |
dc.date.available | 2021-05-07T15:26:19Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4068 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | CAX (Vacuoles Ca2+/H+antipoter) เป็นยีนที่ควบคุมให้เกิดการสมดุลของ Ca2+ เมื่อพืชอยู่ในสภาวะเค็มหรือความแห้งแล้ง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน CAX ในอ้อย 3 พันธุ์ พันธุ์การค้า KPS 94-13 อ้อยป่า (Saccharum sapontaneum) และอ้อยลูกผสมระหว่างอ้อยปลูกและอ้อยป่า (พันธุ์ไบโอเทค 2) พบว่า มีขนาด 1254 นิวคลีโอไทด์ เมื่อแปลรหัสเป็นกรดอะมิโนได้ 417 หน่วย เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของลาดับนิวคลีโอไทด์พบว่ามี 12 ตาแหน่งที่แตกต่างกัน แต่กรดอะมิโนจะมีเพียง 4 ตาแหน่งเท่านั้นที่แตกต่างกัน ความแตกต่างกันของลาดับนิวคลีโอไทด์และกรดอะมิโนรวมทั้งระดับการแสดงออกของยีนอาจมีความเกี่ยวข้องกัน และอาจจะสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลชนิด gene targeted marker เพื่อใช้ช่วยคัดเลือกอ้อยที่ทนทานต่อดินเค็มได้เมื่อเปรียบเทียบการแสดงออกของยีนนี้ในอ้อย 3 พันธุ์ที่ได้รับโซเดียมคลอไรด์ 100 และ 200 มิลลิโมลาร์ เป็นเวลา 5 วัน พบว่าพันธุ์ที่ได้รับโซเดียมคลอไรด์ 100 มิลลิโมลาร์ การแสดงออกของยีนที่รากจะมีมากกว่าที่ใบ และพบว่าที่โซเดียมคลอไรด์ 200 มิลลิโมลาร์ การแสดงออกของยีนดังกล่าวที่ใบมากกว่าที่ราก โดยจะมีการแสดงออกสูงสุดในวันแรก การแสดงออกของยีนจะแสดงออกสูงสุดในพันธุ์ป่า โดยจะมีการแสดงออกสูงที่สุดเมื่อเทียบกับพันธุ์อื่นที่ 1 วัน หลังได้รับโซเดียมคลอไรด์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว | th_TH |
dc.subject | อ้อย | th_TH |
dc.subject | ดิน - - การวิเคราะห์ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การบ่งชี้และแยกยีน Ca2+/H+antipoter (CAX) ที่อ้อยใช้ตอบสนองต่อสภาพดินเค็ม | th_TH |
dc.title.alternative | Identification and Isolation of Ca2+/H+antiporter (CAX) Gene, the Saline Responsive Gene in Sugarcane | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | chanakanl@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | agrstc@ku.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | CAX (Vacuoles Ca2+/H+antipoter gene is a gene that modulate specific Ca2+signatures and Ca2+ homeostasis in plants under saline soil. The objective of this study was to clone of CAX from 3 sugarcane genotypes. It revealed that the full length of the gene contains 1254 nucleotides which encoded for 417 amino acid residues. There are 14 nucleotide positions and 3 amino acid residues different among 3 sugarcane genotypes. The variation in nucleotide and amino acid sequences and the expression levels of the gene may be related. This will be a promising for gene targeted marker development for selection of salt tolerance sugarcane. The expression levels of CAX in the three sugarcane cultivars subjected to salt stress for 5 days were also compared. It was indicated that the expression levels of the gene in roots were higher than those in leaves at 100 mM NaCl while at 200 mM NaCl, the expression levels of the gene in leaves higher than roots. wt was highest at 1st day of stress. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_244.pdf | 824.68 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น