กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4061
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-04-28T12:46:35Z | |
dc.date.available | 2021-04-28T12:46:35Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4061 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | จากการสำรวจประชากรของปูม้าก้ามหนาม Charybdis acutifrons ปูม้าอินโดแปซิฟิก C. hellerii และปูม้าหิน Thalamita pelsarti บริเวณชายฝั่งของหมู่เกาะแสมสาร โดยการวางลอบดักปูใน แนวปะการังบริเวณจุดสำรวจ 3 แห่ง ได้แก่ ชายฝั่งด้านตะวันตกของเกาะแรด ชายฝั่งด้านตะวันออก ของเกาะปลาหมึก และชายฝั่งของหาดลูกลม เกาะแสมสาร อำเภอสัตหีบ จ. ชลบุรี ในระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2559 ถึงเดือนกันยายน 2560 ได้ตัวอย่างปูม้าก้ามหนามทั้งสิ้น 56 ตัว เป็นปูเพศผู้ 40 ตัว ปูเพศเมีย 9 ตัว ซึ่งเป็นปูเพศเมียไข่ติด 7 ตัว โดยคิดเป็นอัตราส่วนปูเพศผู้ต่อปูเพศเมียเท่ากับ 2.5:1.0 ขนาดของปูที่สำรวจพบมีความกว้างของกระดองอยู่ในช่วงประมาณ 53-89 มิลลิเมตร ปูที่พบขนาดใหญ่ที่สุดเป็นปูเพศผู้ซึ่งมีขนาดความกว้างและความยาวของกระดองเท่ากับ 89.11 และ 65.20 มิลลิเมตร ตามลาดับ ส่วนปูที่พบขนาดเล็กที่สุดเป็นปูเพศเมียซึ่งมีขนาดความกว้างและความยาวของกระดองเท่ากับ 52.82 และ 36.67 มิลลิเมตร ตามลำดับ สาหรับปูม้าอินโดแปซิฟิกที่สำรวจพบมีทั้งสิ้น 41 ตัว เป็นปูเพศผู้ 28 ตัว ปูเพศเมีย 9 ตัว ซึ่งเป็นปูเพศเมียไข่ติด 4 ตัว โดยคิดเป็นอัตราส่วนปูเพศผู้ต่อปูเพศเมียเท่ากับ 2.1:1.0 ขนาดของปูที่สำรวจพบมีความกว้างของกระดองอยู่ในช่วงประมาณ 47-78 มิลลิเมตร ปูที่พบขนาดใหญ่ที่สุดเป็นปูเพศผู้ซึ่งมีขนาดความกว้างและความยาวของกระดองเท่ากับ 77.87 และ 51.16 มิลลิเมตร ตามลำดับ ส่วนปูที่พบขนาดเล็กที่สุดเป็นปูเพศเมียซึ่งมีขนาดความกว้างและความยาวของกระดองเท่ากับ 47.34 และ 36.34 มิลลิเมตร ตามลำดับ ส่วนปูม้าหินที่สำรวจพบมีทั้งสิ้น 56 ตัว เป็นปูเพศผู้ 38 ตัว ปูเพศเมีย 18 ตัว ซึ่งเป็นปูเพศเมียไข่ติด 8 ตัว โดยคิดเป็นอัตราส่วนปูเพศผู้ต่อปูเพศเมียเท่ากับ 2.1:1.0 ขนาดของปูที่สำรวจพบมีความกว้างของกระดองอยู่ในช่วงประมาณ 32-71 มิลลิเมตร ปูที่พบขนาดใหญ่ที่สุดเป็นปูเพศผู้ซึ่งมีขนาดความกว้างและความยาวของกระดองเท่ากับ 71.29 และ 46.36 มิลลิเมตร ตามลำดับ ส่วนปูที่พบขนาดเล็กที่สุดเป็นปูเพศเมียซึ่งมีขนาดความกว้างและความยาวของกระดองเท่ากับ 32.38 และ 18.87 มิลลิเมตร ตามลำดับ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ปูน้ำเค็ม - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | ปู - - การขยายพันธุ์ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | ความผันแปรตามฤดูกาลของประชาคมปูน้ำเค็มในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ระยะที่ 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Seasonal variation of marine crabs community in the Marine Plant Genetic Conservation Area, Mo Ko Samaesarn, Chon Buri Province Phase 2 | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | nongnud@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Survey on population of Charybdis acutifrons C. hellerii and Thalamita pelsarti collected from the coral area of Rad Islands (Western part), Pla-Muk Island (Eastern part) and Had Luklom of Samaesan Island using collapsible crab traps were carried out from November 2016 to September 2017. Total number of collected crabs classified as male, female and ovigerous female crab were recorded. For C. acutifrons, total number of 56 crabs (40 males, 9 females and 7 ovigerous females) with the overall sex ratio (male: female, 2.50 : 1.00) were recorded. Carapace width of C. acutifrons was in the range of 53-89 mm (n=56). Male crab had the maximum carapace width and carapace length of 89.11 and 65.20 mm respectively, whereas female crab had the minimum carapace width and carapace length of 52.82 and 36.67 mm respectively. For C. hellerii, total number of 41 crabs (28 males, 9 females and 4 ovigerous females) with the overall sex ratio (male: female, 2.10 : 1.00) were recorded. Carapace width of C. hellerii was in the range of 47-78 mm (n=41). Male crab had the maximum carapace width and carapace length of 77.87 and 51.61 mm respectively, whereas female crab had the minimum carapace width and carapace length of 47.34 and 36.34 mm respectively. For T. pelsarti, total number of 56 crabs (38 males, 10 females and 8 ovigerous females) with the overall sex ratio (male: female, 2.10 : 1.00) were recorded. Carapace width of C. hellerii was in the range of 32-71 mm (n=56). Male crab had the maximum carapace width and carapace length of 71.29 and 46.36 mm respectively, whereas female crab had the minimum carapace width and carapace length of 32.38 and 18.87 mm respectively. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_232.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น