กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4060
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกฤษณะ ชินสาร
dc.contributor.authorสุวรรณา รัศมีขวัญ
dc.contributor.authorภูสิต กุลเกษม
dc.contributor.authorเบญจภรณ์ จันทรกองกุล
dc.contributor.authorอัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์
dc.contributor.authorชิดชนก เหลือสินทรัพย์
dc.contributor.authorวุฒิชัย เหลืองเรืองรอง
dc.contributor.authorนิลรัตน์ ก้านหยั่นทอง
dc.contributor.authorธนินท์ อินทรมณี
dc.contributor.authorRatanak Khoeun
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2021-04-28T10:40:45Z
dc.date.available2021-04-28T10:40:45Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4060
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.description.abstractโรคที่เกิดบนจอประสาทตาของมนุษย์ส่วนใหญ่จะแสดงอาการออกทางจานประสาทตาหรือขั้วประสาทตา (Optic Disc) เช่น โรคเบาหวานและโรคต้อหินเป็นต้น ซึ่งในบางกรณีพบว่ามีสิ่งรบกวนเกิดขึ้นบนภาพถ่ายจอประสาทตา เช่น สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในขณะที่ผู้เชี่ยวชาญถ่ายภาพจอประสาทตา รอยแผลทีเกิดจากโรคเบาหวานขึ้นตา (Exudates) รวมไปถึงในกรณีที่จานประสาทตาเลือนลางจนมีลักษณะใกล้เคียงกับพื้นจอประสาทตาของมนุษย์ โครงการวิจัยนี้จึงนำเสนอขั้นตอนวิธีสำหรับระบุตำแหน่งของจานประสาทตา (Optic Disc Localization) บนภาพถ่ายจอประสาทตาที่มีความซับซ้อนสูง เพื่อนำภาพผลลัพธ์ที่ได้ไปประกอบการวินิจฉัยหรือตรวจจับตลอดจนพยากรณ์การเกิดโรคที่แสดงอาการบนภาพถ่ายจอประสาทตา ขั้นตอนวิธีที่นำเสนอประกอบด้วยสามขั้นตอนหลัก คือ การปรับปรุงคุณภาพภาพโดยใช้ระบบสี YIQ และกำจัดสัญญาณรบกวนด้วยขั้นตอนวิธีทางสัณฐานภาพ (Image Morphological) จากนั้นจะเลือกคุณลักษณะในการระบุตำแหน่งของจานประสาทตาด้วยการยกเส้นเลือดออกจากพื้นหลังโดยใช้ขั้นตอนวิธีของ Tyler Coye และ จุดสิ้นสุดของเส้นเลือด จากนั้นจึงทำการระบุตำแหน่งของจานประสาทตาจากคุณลักษณะที่ได้จากขั้นตอนก่อนหน้านี้ จากการทดลองพบว่าขั้นตอนวิธีที่นำเสนอสามารถระบุตำแหน่งของจานประสาทตาได้ด้วยความถูกต้อง 91.11 % เมื่อเปรียบเทียบกับขั้นตอนวิธ๊ของ Kande et al และ Lupascu et al. ซึ่งค่าความถูกต้องอยู่ที่ 86.38% และ 87.98% ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectจอประสาทตา - - โรคth_TH
dc.subjectตา - - โรค - - การวินิจฉัยth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการตรวจหาและแบ่งส่วนของออพคิตดิสและคัพในสภาพแวดล้อมที่มีความซับซ้อนสูงเพื่อการช่วยวินิจฉัยทางการแพทย์th_TH
dc.title.alternativeAuto detection and segmentation of optic disc and cup in highly complex environment for supporting medical diagnosisen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailkrisana@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailrasmequa@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpusit@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailbenchapo@buu.ac.thth_TH
dc.author.emaillchidcha@chula.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_231.pdf5.57 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น