กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4054
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกัญจน์ชญา หงส์เลิศคงสกุล
dc.contributor.authorจิราภรณ์ พงษ์โสภา
dc.contributor.authorภัททิรา หอมหวน
dc.contributor.authorดุสิต งามรุ่งโรจน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-04-27T05:27:37Z
dc.date.available2021-04-27T05:27:37Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4054
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.description.abstractเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์จะสังเคราะห์ด้วยเทคนิคการปั่นเส้นใยนาโนด้วยไฟฟ้าสถิต เส้นใยนาโนของสารละลาย ZnAc:PVA ที่อัตราส่วนความเข้มข้นของสารละลาย ZnA:PVA ที่แตกต่างกันคือ (2:2) (3:2) (4:2) (5:2) และ (6:2) จะปั่นลงบนแผ่นรองรับ ในการปั่นจะใช้ความต่างศักย์ที่แตกต่างกันคือ 16 18 20 22 และ 24 kV และระยะห่างระหว่างปลายเข็มกับแผ่นโลหะรองรับที่แตกต่างกันคือ 12 13 14 และ 15 cm เส้นใยนาโนที่ปั่นได้จะนำไปอบที่อุณหภูมิที่แตกต่างกันคือ 450 500 550 และ 600๐C เส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ได้ทั้งหมดจะนำไปวิเคราะห์สมบัติทางโครงสร้าง ทางแสง และทางไฟฟ้า การวัดลักษณะทางสัณฐานของเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ด้วยเครื่อง Scanning Electron Microscope (SEM) พบว่าเส้นใยที่ได้ทั้งหมดมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในระดับนาโนเมตร โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่พบในช่วง 25-530 นาโนเมตร ลักษณะทางโครงสร้างผลึกที่ศึกษาด้วยเทคนิค X-ray Diffraction (XRD) ยืนยันว่า เส้นใยที่ได้เป็นเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ เนื่องจากมีผลึกของซิงค์ออกไซด์ ค่าการส่องผ่านแสงเฉลี่ยในช่วงแสงที่ตามองเห็นของเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ที่ได้มีค่าสูงกว่า 85% ค่าแถบพลังงานแสงและค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าของเส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์มีค่าอยู่ในช่วง 2.73-3.26 eV และ 113-186 Ωm ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเส้นใย - - การผลิต - - วิจัยth_TH
dc.subjectเส้นใยนาโนth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการสังเคราะห์และการวิเคราะห์เส้นใยนาโนซิงค์ออกไซด์ด้วยเทคนิค การปั่นเส้นใยนาโนด้วยไฟฟ้าสถิตth_TH
dc.title.alternativeSynthesis and characterization of ZnO nanofibers by electrospinning techniqueen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailKanchaya@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpattira_h@hotmail.comth_TH
dc.author.emailjira0224@gmail.comth_TH
dc.author.emailliew_cu@yahoo.comth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeZinc Oxide nanofibers were synthesized by electrospinning technique. The nanofibers of ZnAc:PVA solution, which has various ZnAc:PVA concentration ratios such as (2:2), (3:2), (4:2), (5:2), and (6:2), were spun on the substrate. To spin will run at different voltages, such as 16, 18, 20, 22 and 24 kV and at different distances between needle tip and substrate, such as 12, 13, 14 and 15 cm. The spun nanofibers were annealed at different annealing temperatures, such as 450, 500, 550 and 600๐C. All of Zinc Oxide nanofibers were analyzed on the structural, optical and electrical properties. The morphology measurement of zinc oxide nanofibers by Scanning Electron Microscope (SEM) showed that the diameter of all fibers is in the nanometer range and which is in the range of 25-530 nm. Structural characterization by X-ray diffraction (XRD) technique confirmed that these fibers are zinc oxide nanofibers due to being of zinc oxide crystalline structure. An average transmittance of above 85% in the visible wavelength region was obtained for zinc oxide nanofibers. The optical energy bandgap and resistivity of zinc oxide nanofibers were found in the range 2.73-3.26 eV and 113-186 Ωm; respectively.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_224.pdf1.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น