กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4051
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร | |
dc.contributor.author | คุณาวุฒิ วรรณจักร | |
dc.contributor.author | ชลาฎล บุญศรี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-04-26T06:52:24Z | |
dc.date.available | 2021-04-26T06:52:24Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4051 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จาก (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม) | th_TH |
dc.description.abstract | แฮนด์บอลเป็นชนิดกีฬาที่มีการปะทะรุนแรง เคลื่อนที่รวดเร็ว ซึ่งข้อเท้าเป็นโครงสร้างหลักที่ต้องเคลื่อนไหวโดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะของเท้าส่งผลต่อการกระจายแรงจึงอาจจะส่งผลกระทบถึงความสามารถในการเล่นกีฬาได้ วัตถุประสงค์งานวิจัย เพื่อศึกษาผลของลักษณะของเท้า ต่อการควบคุมการทรงท่า และช่วงการเคลื่อนไหวของข้อเท้าในนักกีฬาแฮนด์บอลผู้มีปัญหาลักษณะเท้าผิดปกติ ระเบียบวิธีวิจัย ผู้เข้าร่วมคือนักกีฬาแฮนด์บอล เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ศึกษาในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ จานวน 30 คน โดยอาสาสมัครทั้งหมดจะได้รับการประเมินลักษณะเท้า การควบคุมการทรงท่า และช่วงการเคลื่อนไหวของข้อเท้า ผลการศึกษา อาสาสมัครประกอบด้วยเพศชาย 19 คน (ร้อยละ 63) เพศหญิง 11 คน (ร้อยละ 37) ผู้เข้าร่วมที่เท้าแบนจะมีการควบคุมการทรงท่าขณะคงที่ทั้งลืมตาและหลับตาลดลง (<30วินาที) มีความสัมพันธ์เชิงบวก (r=0.23 ลืมตา, r=0.09 หลับตา) ผู้เข้าร่วมที่เท้าแบนจะมีการควบคุมการทรงท่าขณะเคลื่อนไหวลดลงและมีองศาการเคลื่อนไหวของข้อเท้าที่ลดลง สรุปผลการศึกษา ลักษณะของเท้ามีผลต่อการลดลงของการทรงท่าทั้งอยู่นิ่งและเคลื่อนไหว ดังนั้นจึงควรมีการป้องกันหรือการรักษาภาวะเท้าแบนนี้เนื่องจากอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการเล่นกีฬาของนักกีฬาแฮนด์บอล | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | นักกีฬาแฮนด์บอล | th_TH |
dc.subject | การเคลื่อนไหว | th_TH |
dc.subject | เท้า | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ของลักษณะของเท้า ความสามารถในการทรงท่า ช่วงการเคลื่อนไหวของข้อเท้าและความแข็งแรงของเท้าและข้อเท้าในนักกีฬาแฮนด์บอล | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between foot posture, balance, ankle range of motion and strength in Handball players | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | vina_pin@hotmail.com | th_TH |
dc.author.email | kvs_28@hotmail.com | th_TH |
dc.author.email | sol_11hb@hotmail.com | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Handball is a high-intensity sport with frequent physical contact and fast moving. Ankle structure in handball players requires sudden stops and cutting movements, especially foot posture is important for shock absorption during movement, that effect on physical performances. Objective: To evaluate effect of foot posture on balance ability ankle range of motion and strength in handball players Methodology: Thirty handball players in Physical Education Institution of Bangkok Campus were recruited in this study (male 19, female 11). They were assessed foot posture, balance ability, ankle range of motion and strength. Results: The handball players who have flat feet were decreased in balance ability. Flat feet group was positive correlate between static balance ability during eyes closed (EC) and eyes opened (EO) situations. (r=0.23 EO, r=0.09 EC). Flat feet group was decreasing in several directions of dynamic balance ability and ankle joint range of motion. Conclusion: Foot postures may effect on static and dynamic balance ability. This impairment may effect on sport performance, so should prevent or treating this condition in handball players. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_220.pdf | 1 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น