กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4044
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุวรรณา รัศมีขวัญth
dc.contributor.authorกฤษณะ ชินสารth
dc.contributor.authorภูสิต กุลเกษมth
dc.contributor.authorเบญจภรณ์ จันทรกองกุลth
dc.contributor.authorจรรยา อ้นปันส์th
dc.contributor.authorอลิสรา วงศ์สุทธิเลิศth
dc.contributor.authorอัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์th
dc.contributor.authorชิดชนก เหลือสินทรัพย์th
dc.contributor.authorวัชรพงศ์ อยู่ขวัญth
dc.contributor.authorศิวกรณ์ อาจรักษาth
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ธรรมนาวาศth
dc.contributor.authorจิราภรณ์ วงวาลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned2021-04-24T15:31:47Z
dc.date.available2021-04-24T15:31:47Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4044
dc.descriptionสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.description.abstractการแบ่งส่วนข้อของกระดูกสันหลังในเพื่อวินิจฉัยโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของมวลกระดูกลดน้อยลง ทำให้กระดูกเสื่อม เปราะบางและแตกหักง่ายและกระดูกจะไม่สามารถทำงานหรือเคลื่อนไหวได้อย่างตามปกติ ซึ่งในปัจจุบันมีงานวิจัยทางด้านเทคนิคการประมวลผลภาพที่เสนอวิธีการแบ่งส่วนข้อของกระดูกสันหลัง ในโครงการวิจัยจึงนำเสนอขั้นตอนวิธีการแบ่งส่วนข้อกระดูกสันหลังในภาพถ่ายรังสีเอกซ์ เพื่อช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจของแพทย์ ขั้นตอนวิธีที่นำเสนอมีด1วยกันทั้งหมด 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมภาพ (Image Pre-processing) เพื่อให้ง่ายต่อการประมวลผลภาพ, ขั้นตอนการแบ่งส่วนข้อของกระดูกสันหลัง (Segmentation) ซึ่งในขั้นตอนการแบ่งส่วนนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนย่อยคือ การแบ่งส่วนในแนวนอน (Vertical) และการแบ่งส่วนในแนวตั้ง (Horizontal) เพื่อแบ่งส่วนข้อของกระดูกสันหลังในแนวตั้งและแนวนอน ในขั้นตอนสุดท้ายเปjนขั้นตอนการเลือกตำแหน่งที่สนใจ (Prediction) เพื่อเลือกตำแหน่งที่คาดว่าน่าจะเปjนบริเวณข้อกระดูก จากผลการทดลองพบว่าการนำเอาเทคนิคด้านการประมวลผลภาพ เข้ามาใช้ในการแยกส่วนของภาพถ่ายกระดูกสันหลังที่มีคุณภาพต่ำเพื่อนำภาพไปตรวจสอบหรือพยากรณ์โรคกระดูก โดยผ่านขั้นตอนวิธีที่มาทางผู้วิจัยได้นำเสนอ และหลังจากได้ผลลัพธ์จากกระบวนการแยกส่วนของกระดูกสันหลังแล้ว จะเข้าสู่กระบวนการปรับปรุงส่วนของผลลัพธ์ จากผลการทดลองที่ได้จะสามารถนำไปช่วยเหลือในการแนะนำผู้เชี่ยวชาญในการลดเวลาที่ใช้ในส่วนของการวาดขอบเขตของกระดูกสันหลังได้มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการสร้างแบบจำลองสามมิติth_TH
dc.subjectกระดูกสันหลังth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.subjectซอฟต์แวร์วัดมวลกระดูกth_TH
dc.titleการประกอบคืนสภาพจากภาพกระดูกสันหลังสองมิติเป็นภาพสามมิติเพื่อสนับสนุนการวินิจฉัยทางคลินิกและการคำนวณมวลกระดูกแบบอัตโนมัติth_TH
dc.title.alternative2 Dimension vertebral bone image reconstruction into 3 dimension for supporting clinical analysis and bone mass automatic calculationen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailrasmequa@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailkrisana@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpusit@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailbenchapo@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailjanyao@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailalisara@buu.ac.thth_TH
dc.author.emaillchidcha@chula.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_214.pdf11.81 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น